ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายพระพุทธบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox rail line
| box_width = 280px
| type = [[รถไฟระหว่างเมือง|รถไฟ]], /[[รถราง]]
| image = Prabat Tramway 1997.jpg
| image_size = 3000300
| image_caption =
| status = ยกเลิก
| locale = [[อำเภอท่าเรือ]]<br> [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] และ[[อำเภอพระพุทธบาท]] [[จังหวัดสระบุรี]]
| start = [[สถานีรถไฟท่าเรือ|ท่าเรือ]]
| end = [[สถานีรถไฟพระพุทธบาท]]
| stations = 7
| open = [[พ.ศ. 2445]]
| close = 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2485<ref name="จุฬาลงกรณ์">{{cite web |url= http://www.tri.chula.ac.th/triresearch/prapud/prapud.html |title= ทางรถไฟสายท่าเรือ–พระพุทธบาท |author= สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง |date= |work= สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |publisher=|accessdate= 3 พฤศจิกายน 2561 }}</ref>
| close = [[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2485]]
| owner = บริษัท รถรางพระพุทธบาททุน จำกัด <small>(2444–2472)</small><ref name="อำนาจ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 18 |issue= 26 |pages= 410 |title= พระบรมราชโองการ ประกาศพระราชทานอำนาจพิเศษแก่บริษัทรถรางพระพุทธบาททุน จำกัด |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2444/026/410.PDF |date= 29 กันยายน 2444 |language=ไทย}}</ref><ref name="อำนาจ1">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 46 |issue= 0 ก |pages= 367 |title= ประกาศ ถอนพระบรมราชานุญาตซึ่งได้พระราชทานแก่บริษัทรถรางพระพุทธบาททุนจำกัด |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2472/A/367.PDF |date= 2 มีนาคม 2472 |language=ไทย}}</ref><br>บริษัท รถไฟท่าเรือ จำกัด <small>(2474–2485)<ref name="ท่าเรือ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 48 |issue= 0 ง |pages= 679 |title= แจ้งความกรมรถไฟหลวง เรื่องสร้างและเดิรรถไฟราษฎร์ |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/D/679.PDF |date= 31 พฤษภาคม 2474 |language=ไทย}}</ref></small>
| owner = [[บริษัทท่าเรือจำกัด]]
| linelength = {{km to mi|20|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}}<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
| gauge = รางแคบขนาดเล็ก60 หรือ 75 เซนติเมตร<ref (ตามซากที่ยังหลงเหลือ) หรือ 60 เซนติเมตรname="จุฬาลงกรณ์"/>
}}
 
'''ทางรถไฟสายพระพุทธบาท''' หรือ '''รถรางสายพระพุทธบาท''' บ้างเรียก '''รถไฟกรมพระนรา''' เป็นทางรถไฟราษฎร์หรือทางรถไฟเอกชนสายหนึ่ง ดำเนินกิจการโดยบริษัท รถรางพระพุทธบาท ทุนจำกัด และบริษัท รถไฟท่าเรือ จำกัดของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]
'''ทางรถไฟสายพระพุทธบาท''' เป็น[[ทางรถไฟ]]เอกชนที่เดินรถระหว่าง[[สถานีรถไฟท่าเรือ]] [[อำเภอท่าเรือ]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] กับ[[อำเภอพระพุทธบาท]] [[จังหวัดสระบุรี]] เป็นระยะทาง 20 กิโลเมตร ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2445]] ถึง [[พ.ศ. 2485]] ชาวบ้านท้องถิ่นมักเรียกรถไฟสายนี้ว่า '''รถไฟกรมพระนรา''' หรือ '''รถไฟกรมพระดารา'''
 
รถไฟสายนี้เป็นรถไฟหรือรถรางขนาดเล็กเดินรถระหว่าง[[อำเภอท่าเรือ]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] กับ[[อำเภอพระพุทธบาท]] [[จังหวัดสระบุรี]] เป็นระยะทางราว 20 กิโลเมตร เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางสำหรับผู้ไปนมัสการ[[พระพุทธบาท]] ณ [[วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร]] [[จังหวัดสระบุรี]] ถือเป็นเส้นทางรถไฟสำหรับท่องเที่ยวเพื่ออำนวยความสะดวกแก่เจ้านาย และมิได้เกิดขึ้นด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
รถไฟเล็กสายพระพุทธบาทนี้ ได้รับพระบรมราชานุญาตเป็นพิเศษ เมื่อปี [[พ.ศ. 2445]] และได้รับการจัดชั้นเป็น [[รถราง]] โดยเปิดให้บริการปี [[พ.ศ. 2449]]
 
ทางรถไฟสายพระพุทธบาทดำเนินการโดย '''บริษัทท่าเรือจำกัด''' ซึ่งมีผู้ถือหุ้นหลักคือ '''บริษัทนาบุญจำกัดสินใช้''' [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] ได้รับสัมปทานตั้งแต่ [[พ.ศ. 2445]]
 
== รายละเอียดการเดินรถ ==
เส้น 142 ⟶ 140:
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=18 ประวัติทางรถไฟสายท่าเรือ-พระพุทธบาท (รถไฟกรมพระนรา)]
* [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/D/679.PDF แจ้งความกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม แผนกรถไฟหลวง เรื่อง สร้างและเดินรถไฟราษฎร์]
 
{{สถานีรถไฟในอดีต}}