ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไต้หวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 74:
ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน|จีนแผ่นดินใหญ่]] ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] และด้านใต้ติดกับ[[ประเทศฟิลิปปินส์|ฟิลิปปินส์]] กรุง[[ไทเป]]เป็นเมืองหลวง<ref name="capital">{{cite news |title=Interior minister reaffirms Taipei is ROC’s capital |date=5 December 2013 |url=http://www.taipeitimes.com/News/taiwan/archives/2013/12/05/2003578356 |publisher=Taipei Times |accessdate=7 December 2013}}</ref> ส่วน[[ซินเป่ย์|ไทเปใหม่]]เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้
 
เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของ[[ชนพื้นเมืองไต้หวัน|ชนพื้นเมือง]] และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาว[[ดัชต์ฟอร์โมซา|วิลันดา]]และ[[สเปนฟอร์โมซา|สเปน]]เดินทางเข้ามาใน[[ยุคสำรวจ]]เมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 [[ราชวงศ์หมิง]]ในแผ่นดินใหญ่ถูก[[ราชวงศ์ชิง]]แทนที่ [[Koxinga|เจิ้ง เฉิงกง]] (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้ง[[ราชอาณาจักรตงหนิง]] (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "[[Anti-Qing sentiment|โค่นชิงฟื้นหมิง]]" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและ[[ไต้หวันในความปกครองของราชวงศ์ชิง|เข้าครอบครอง]]ไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน [[Kuomintang|พรรคชาตินิยม]] (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่[[Communist Party of China|พรรคสังคมนิยม]] (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนารัฐบาลพลัดถิ่นของสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวัน แยกปกครองต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนแผ่นดินใหญ่ยังคงถือว่า เกาะไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติ ว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ถึงทุกวันนี้
 
ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมี[[universal suffrage|การเลือกตั้งทั่วหน้า]] อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวัน[[Taiwan Miracle|งอกงามอย่างรวดเร็ว]] ไต้หวันจึงกลายเป็น[[ประเทศพัฒนาแล้ว]] ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน[[สี่เสือแห่งเอเชีย]] มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็น[[รายชื่อประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)|อันดับ]]ที่ 19 ของโลก<ref>[[CIA]] [[World Factbook]]- [https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2001rank.html?countryName=Taiwan&countryCode=tw&regionCode=eas&rank=20#tw GDP (PPP)]</ref><ref>{{Cite news|url=http://www.chinapost.com.tw/life/environment/2009/06/17/212626/Taiwan-needs.htm|title=Taiwan needs to boost public awareness on climate change: EU envoy|last=Chan|first=Rachel |date=17 June 2009|newspaper=China Post|accessdate=2009-07-22}}</ref> อุตสาหกรรมที่ใช้[[เทคโนโลยีชั้นสูง]]ของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิก[[องค์การการค้าโลก]]และ[[ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก]] นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วย<ref>{{cite journal|last=Yao|first=Grace|coauthors=Yen-Pi Cheng and Chiao-Pi Cheng|date=6 October 2008|title=The Quality of Life in Taiwan|journal=Social Indicators Research|volume=92|issue=The Quality of Life in Confucian Asia: From Physical Welfare to Subjective Well–Being|quote=a second place ranking in the 2000 Economist's world healthcare ranking}}</ref><ref name="HDI-2">http://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf</ref><ref>{{cite web|url=http://www.dgbas.gov.tw/public/Data/11715541971.pdf|format=PDF|title=2010中華民國人類發展指數 (HDI)|accessdate=2010-07-02|year=2010|publisher=Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, R.O.C.|language=Chinese}}</ref>
บรรทัด 111:
เมื่อ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]เข้ามามีอำนาจในจีนแผ่นดินใหญ่เมื่อ [[พ.ศ. 2492]] (ค.ศ. 1949) [[พรรคก๊กมินตั๋ง]] พรรคการเมืองเมืองชาตินิยมของจีนที่เป็นฝ่ายแพ้ก็พาผู้คนอพยพหนีออกจากแผ่นดินใหญ่มาตั้งหลักที่ไต้หวัน เพื่อวางแผนกลับไปครองอำนาจในจีนต่อไป
 
ชาวจีนมากกว่า 1 ล้าน 5 แสนคน อพยพตามมาอยู่ที่เกาะไต้หวัน ในยุคที่เหมา เจ๋อตงมีอำนาจเต็มที่ในจีนแผ่นดินใหญ่ ผู้นำของประเทศทั้งสองจีน คือผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับผู้นำสาธารณรัฐจีนบน[[เกาะไต้หวัน]] แย่งกันเป็นกระบอกเสียงของประชาชนจีนในเวทีโลก แต่เสียงของนานาประเทศส่วนใหญ่เกรงอิทธิพลของจีนแผ่นดินใหญ่ จึงให้การยอมรับจีนแผ่นดินใหญ่มากกว่า
 
=== พรรคก๊กมินตั๋งเรืองอำนาจ ===
บรรทัด 186:
 
=== สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) - ปัจจุบัน ===
หลังจาก[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]ถอยหนีมาอยู่บนเกาะ[[ไต้หวัน]] ประเทศส่วนใหญ่ยังคงรักษาความสัมพันธ์กับรัฐบาลสาธารณรัฐจีนเอาไว้ แต่การรับรองสถานะก็ลดลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องเมื่อในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มีหลายประเทศได้เปลี่ยนไปรับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]แทน ในปัจจุบัน สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันยังคงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจาก 17 รัฐ จาก 193 รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งนอกจากทำเนียบสันตะปาปาแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในแถบอเมริกากลางและแอฟริกา ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]มีนโยบายที่จะไม่สานสัมพันธ์ทางการทูต กับประเทศที่รับรองสถานะของ'''สาธารณรัฐจีน''' และทุก[[ประเทศ]]ที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วย จะต้องมีแถลงการณ์รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] เหนือ[[กว่าสถานะของสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน]]
 
ในทางปฏิบัติแล้ว ถึงแม้ว่า[[ประเทศ]]ส่วนใหญ่จะไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับ[[ไต้หวัน]] และแถลงการณ์ที่ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ต้องการนั้นก็ได้เขียนขึ้นโดยใช้คำกำกวมอย่างยิ่ง [[ประเทศ]]สำคัญ ๆ บาง[[ประเทศ]]ที่ไม่ได้รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐจีน]]ก็จะมี "[[สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป]]" หรือ "สำนักงานตัวแทนไทเป" ซึ่งปฏิบัติงานต่าง ๆ ในลักษณะเดียวกับ[[สถานทูต]] เช่น การออกวีซ่า เป็นต้น และในทำนองเดียวกัน หลาย[[ประเทศ]]ก็ได้จัดตั้งสำนักงานการค้าและเศรษฐกิจขึ้นใน'''สาธารณรัฐจีน'''เช่น [[สำนักงานการค้าและเศรษฐกิจไทย]] และ[[สถาบันอเมริกาในไต้หวัน]] ซึ่งโดยพฤตินัยแล้วก็คือ[[สถานทูต]]ของประเทศต่าง ๆ นั่นเอง