ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาโอกิงาฮาระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการทับศัพท์ญี่ปุ่น
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Aokigahara forest 04.jpg|thumb|300px|right|อะโอะกิงะฮะระอาโอกิงาฮาระ]]
'''อะโอะกิงะฮะระอาโอกิงาฮาระ''' ({{ญี่ปุ่น|青木ヶ原|Aokigahara}}) หรือมีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า '''นทีแห่งไม้''' (樹海, Sea of Trees) เป็นชื่อเรียก[[ป่า]]บริเวณเชิง[[ภูเขาฟูจิ]]ด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]]
 
อะโอะกิงะฮะอาโอกิงาฮาระเป็นสถานที่ที่ชาวญี่ปุ่นมาฆ่าตัวตายบ่อยครั้ง โดยนับตั้งแต่ [[ค.ศ. 1950]] เป็นต้นมา พบศพผู้เสียชีวิตในป่าแห่งนี้มากกว่า 500 คน เฉลี่ยแล้วมีผู้ฆ่าตัวตายในป่าแห่งนี้ประมาณปีละ 30 ราย ในปี ค.ศ. 2002 พบร่างผู้เสียชีวิต 78 ศพ แม้ว่าในป่าจะมีป้ายทั้งในภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่นที่มีเนื้อหาเกลี้ยกล่อมให้เปลี่ยนใจ<ref name="Zack Davisson">{{Cite news|url=http://www.seekjapan.jp/article-1/767/The+Suicide+Woods+of+Mt.+Fuji|title=The Suicide Woods of Mt. Fuji|author=Zack Davisson|work=Seek Japan}}</ref>
 
จนได้มีตำนานและความเชื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับสถานที่แห่งนี้มากมาย ว่า เป็นที่สิงสถิตย์ของเหล่าภูตผี โดยเชื่อว่า ป่าแห่งนี้มีวิญญาณต้นไม้ หรือ[[โคะดะมะโคดามะ]] (木魂) สิงสถิตย์อยู่ เหล่าวิญญาณของต้นไม้จะดูดเอาพลังงานชีวิตจากผู้เสียชีวิตกลับคืนเป็นพลังแห่งป่า เพื่อต้านภัยธรรมชาติและต้านภัยของมนุษย์
 
== ภูมิศาสตร์ ==
พื้นป่าส่วนใหญ่เป็นหินภูเขาไฟและมีความแข็งยากที่จะเจาะทะลุได้ด้วยเครื่องมืออย่างพลั่วหรือเสียม นอกจากนี้ ยังมีเส้นทางอย่างไม่เป็นทางการหลายเส้นทางซึ่งถูกใช้กึ่งปกติสำหรับ "การตามหาศพ" ประจำปีซึ่งกระทำโดยอาสาสมัครท้องถิ่น ผู้ซึ่งทำเครื่องหมายพื้นที่ค้นหาด้วยเทปพลาสติก<ref>{{Cite web|url=http://www.asahi.com/english/Herald-asahi/TKY200805020328.html|title=Intruders tangle 'suicide forest' with tape|work=[[Asahi Shimbun]]|date=2008-05-03|accessdate=2008-05-03 |archiveurl = http://web.archive.org/web/20080506060315/http://www.asahi.com/english/Herald-asahi/TKY200805020328.html <!-- Bot retrieved archive --> |archivedate = 2008-05-06}}</ref> เทปพลาสติกนี้ไม่เคยถูกนำออก ดังนั้นเทปพลาสติกจำนวนมากจึงพบดาษดื่นในกิโลเมตรแรกของป่า พ้นจากเส้นทางที่กำหนดไว้นั้นนำไปสู่แหล่งท่องเที่ยว อย่างเช่น ถ้ำน้ำแข็งและถ้ำลม หลังจากกิโลเมตรแรกเข้าสู่ป่าอะโอะกิงะฮะอาโอกิงาฮาระในทิศทางมุ่งไปยังภูเขาไฟฟูจินั้น ป่าอยู่ในสภาพ "ดึกดำบรรพ์" มากขึ้น โดยมีสัญลักษณ์ให้เห็นว่ามนุษย์เข้ามาย่างกรายเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย
 
== การท่องเที่ยวและการฆ่าตัวตาย ==
อะโอะกิงะฮะอาโอกิงาฮาระเป็นสถานที่ยอดนิยมที่จะมีผู้มาฆ่าตัวตาย โดยมีรายงานว่าเป็นสถานที่ฆ่าตัวตายที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลกเป็นอันดับสองรองจาก[[สะพานโกลเดนเกต]]ใน[[ซานฟรานซิสโก]]<ref>Meaney, Thomas. [http://online.wsj.com/article/SB114504929764426405.html?mod=googlewsj "Exiting Early: Is life worth living? The question is perennial. The answers include 'no'"], ''[[The Wall Street Journal]]'', April 15, 2006. Accessed November 14, 2009.</ref><ref name="Amazeen">Amazeen, Sandy. [http://books.monstersandcritics.com/nonfiction/reviews/article_1070655.php/Book_Review_Cliffs_of_Despair_A_Journey_to_Suicides_Edge "Book Review: Cliffs of Despair A Journey to Suicide's Edge"], ''Monsters & Critics.''December 21, 2005.</ref> จนกระทั่งมีการดัดแปลงเป็นนวนิยายในปี ค.ศ. 1960 ชื่อ "ทะเลป่าดำ" (波の塔) โดยไซโซ มัตสึโมโตะ ที่เรื่องราวจบลงที่คู่รักทั้งสองที่เป็นตัวเอกของเรื่องฆ่าตัวตายในป่า<ref>[http://www.thairath.co.th/column/life/tanudsri/183384 5 สถานที่ท่องเที่ยวสยองขวัญของญี่ปุ่น] [[ต่วยตูน]] คอลัมน์ ซันเดย์สเปเชี่ยล [[ไทยรัฐ]] 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554</ref> อย่างไรก็ตาม ประวัติศาสตร์การฆ่าตัวตายในอะโอะกิงะฮะอาโอกิงาฮาระมีมาตั้งแต่ก่อนตีพิมพ์นวนิยายดังกล่าว และสถานที่แห่งนี้ยังเกี่ยวของกับความตายมาเป็นเวลาช้านานแล้ว มีการกล่าวว่าอุอูบาซุซูเตะได้กระทำในสถานที่แห่งนี้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และป่าเป็นที่เลื่องลือว่ามีผีสิงซึ่งเป็นผู้ที่ถูกทิ้งให้ตายในป่า<ref name="Studio 360:Suicide Forest">[http://www.studio360.org/episodes/2010/01/08 Studio 360:Suicide Forest]. ''[[Studio 360|Studio 360 in Japan]]'' (radio program). January 8, 2010. Accessed: February 11, 2010.</ref>
 
นับตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1950 มีผู้เสียชีวิตในป่ามากกว่า 500 คน ซึ่งส่วนใหญ่ฆ่าตัวตาย โดยเฉลี่ยแล้วมีผู้เสียชีวิตราว 30 คนต่อปี<ref>Hadfield, Peter. [http://www.telegraph.co.uk/news/main.jhtml?xml=/news/2000/11/05/waoki05.xml "Japan struggles with soaring death toll in Suicide Forest"], ''[[The Sunday Telegraph]]'' (London). June 16, 2001.</ref> ในปี ค.ศ. 2002 พบร่างผู้เสียชีวิต 78 ศพอยู่ในป่า ทำลายสถิติ 73 ศพ เมื่อปี ค.ศ. 1998<ref>{{Cite web|url=http://search.japantimes.co.jp/member/member.html?nn20030207b1.htm|title='Suicide forest' yields 78 corpses |work=[[The Japan Times]] |date=2003-02-07 |accessdate=2008-05-03}}</ref> ในปี ค.ศ. 2003 จำนวนผู้เสียชีวิตในปีนั้นเพิ่มขึ้นเกิน 100 ศพ และปัจจุบัน รัฐบาลท้องถิ่นได้หยุดการเผยแพร่จำนวนผู้เสียชีวิตในความพยายามที่จะลดความสัมพันธ์ระหว่างอะโอะกิงะฮะอาโอกิงาฮาระกับการฆ่าตัวตาย<ref name="Studio 360:Suicide Forest"/> อัตราการฆ่าตัวตายที่สูงทำให้เจ้าหน้าที่ทางการติดป้ายในป่า ทั้งในภาษาญี่ปุ่นและอังกฤษ โดยกระตุ้นให้ผู้ที่มาฆ่าตัวตายเปลี่ยนใจเสีย คณะค้นหาศพ ซึ่งประกอบด้วยตำรวจ อาสาสมัครและสื่อจำนวนหนึ่ง เริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1970<ref>{{Cite news |url=http://www.independent.co.uk/news/world/asia/japans-harvest-of-death-635356.html |title=Japan's harvest of death |work=[[The Independent]] |location=London |date=2000-10-24 |accessdate=2008-05-03}}</ref>
 
==อ้างอิง==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Aokigahara|อะโอะกิงะฮะระอาโอกิงาฮาระ}}
{{รายการอ้างอิง}}