ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมขลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 69:
=== เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ===
[[ไฟล์:วัดหน่อพุทธางกูร อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี (17).jpg|thumb|300px|เมขลาขณะช่วย[[พระมหาชนก]]จากเรืออัปปาง]]
เรื่องราวของเมขลา มักปรากฏตามจิตกรรมฝาผนังของวัดในประเทศอุษาคเนย์ที่นับถือพุทธศาสนาโดยภาพมาจากฉากในเรื่อง "[[พระมหาชนก]]"<ref name="Monius" /> โดยในไทยและกัมพูชาได้มีการแสดง "เมขลาล่อแก้ว" ทั้งนี้ในราชสำนักกัมพูชาได้มีพิธีกรรมขอฝนด้วยการเต้นดังกล่าวเพื่อเป็นการบวงสรวงเทวดาเพื่อบังคับฝน ถือเป็นเรื่องสวัสดิมงคล<ref name="สุจิตต์"/><ref>Cravath, Paul. ''Asian Theatre Journal'', Vol. 3, No. 2 (Autumn, 1986), pp. 179-203 (The Ritual Origins of the Classical Dance Drama of Cambodia) University of Hawai'i Press</ref> โดยชาวเขมรเชื่อว่าแก้วของเมขลาคือไฟแลบ แต่ตามหลักปรณัมศาสตร์ ควรเป็นสัญลักษณ์ของพระจันทร์เสียมากกว่า<ref>ไมเคิล ไรท์. ''ฝรั่งคลั่งผี''. กรุงเทพฯ : มติชน. 2550, หน้า 250</ref>
 
ในอดีตชนชั้นสูงในไทยมักระบำเบิกโรงเมขลารามสูรโดยถือเป็นมงคล ส่วนโรงละครเองก็ประดับประดารูปสลักหรือภาพวาดเมขลารามสูรล่อแก้วถือเป็นมงคลอีกเช่นกัน<ref name="สุจิตต์"/>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เมขลา"