ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปลือกโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Earth-crust-cutaway-english.png|thumb|250px|ภาพหน้าตัดของโลกทั้งหมด]]
'''เปลือกโลก''' ({{lang-en|Crust}}) เป็นเปลือกแข็งชั้นนอกสุดของโครงสร้างโลก มีทั้งที่เป็นแผ่นดิน และมหาสมุทร มีความหนาประมาณ 5 - 40 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ [[เปลือกโลกภาคพื้นทวีป]] (Continental Crust) เป็นหินแกรนิต มักมีความหนามาก มีความหนาแน่นต่ำ ประกอบด้วยแร่ [[อะลูมินา]] และ[[ซิลิกา]] เป็นส่วนใหญ่ ทำให้มีชื่อเรียกว่า ชนิด[[ไซอัล]] (SIAL) และ[[เปลือกโลกภาคพื้นสมุทร]] (Oceanic Crust) เป็นหินบะซอลต์ มักจะมีความหนาน้อยกว่าเปลือกโลกภาคพื้นทวีป มีความหนาแน่นมากกว่า เนื่องจากประกอบด้วยแร่ [[แมกนีเซีย|แมกนีเซียม]] และ[[ซิลิกา]] เป็นส่วนใหญ่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ชั้น[[ไซมา]] (SIMA)
 
'''แผ่นของเปลือกโลก''' (Crust of the Earth) ประกอบไปด้วยความหลากหลายของหินอัคนี หินแปร หินตะกอน รองรับด้วยชั้นเนื้อโลก Mantle ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหิน peridotite หินที่มีความหนาแน่น และมีอยู่มากในเปลือกโลก รอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลก และชั้นเนื้อโลก หรือในทางธรณีวิทยาเรียกว่า '''ความไม่ต่อเนื่องของโมโฮโลวิคซิค''' (Mohorovicic’s discontinuity) คือเขตแดนที่ใช้เปรียบเทียบพฤติกรรมของคลื่นไหวสะเทือน
 
[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา]]