ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคความหวังใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
สุขุมวิท39 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 29:
พรรคความหวังใหม่ มีฐานเสียงส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชนบท โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ภาคอีสาน]] หลังจากพล.อ.ชวลิต ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี จากภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำเป็นอย่างมากในปี [[พ.ศ. 2540]] จากการประกาศลดค่าเงินบาท และทำให้ระหว่างปี [[พ.ศ. 2540]]-[[พ.ศ. 2544|44]] พรรคความหวังใหม่ต้องเปลี่ยนสถานะไปเป็น พรรคฝ่ายค้าน
 
 
ต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2545 จึงได้ยุบรวมเข้ากับ[[พรรคไทยรักไทย]] และถูกจัดตั้งขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งในเดือนพฤษภาคมของปีเดียวกัน
ความหวังใหม่ ยุบมารวมกับ พรรคไทยรักไทย ตาม ม.73 เมื่อ 22 มีนาคม 2545
(สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรทั้งแบบเขต และบัญชีรายชื่อ ย้ายมาสังกัดพรรคไทยรักไทย มีเพียง [[ชิงชัย มงคลธรรม ]]สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบบบัญชีรายชื่อ ขออยู่ฟื้นฟู พรรคความหวังใหม่/ และ ร้อยตำรวจเอก [[เฉลิม อยู่บำรุง]] สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรบัญชีรายชื่อ ขอไปฟื้นฟู พรรคมวลชน/ พันโทหญิง ฐิติยา รังสิตพล (พันโทหญิง [[ฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล]])สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรบัญชีรายชื่อ ย้ายไปอยู่พรรคประชาธิปัตย์)
ตามกรอบของ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2541
 
<ref>http://archive.li/uMrWf</ref>
 
== รายนามหัวหน้าพรรค ==