ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาซีรีแอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เอลียาห์ (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ภาษาซีรีแอกวรรณคดี: ข้าแต่พระบิดา
เอลียาห์ (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 28:
[[ไฟล์:Syriac Sertâ book script.jpg|thumb|250px|เอกสารภาษาซีรีแอกอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ]]
 
'''ภาษาซีรีแอก''' ({{lang-en|Syriac language}}; ซีรีแอก: ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā) เป็นสำเนียงตะวันออกของ[[ภาษาแอราเมอิก]] ใช้พูดใกลุ่มในกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่าง[[จักรวรรดิโรมัน]]และเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูด[[ภาษาแอราเมอิกใหม่]]ใน[[ซีเรีย]] และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ใน[[รัฐเกรละ]] [[ประเทศอินเดีย]] เป็นภาษาทางศาสนาใน[[ตะวันออกกลาง]]ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 <ref>Beyer, Klaus1986.The Aramaic Language: its distribution and subdivisions.John F. Healey (trans.)GöttingenVandenhoeck und Ruprechtpages=44isbn=3-525-53573-2</ref> ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาแอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีรีแอกที่นับถือ[[ศาสนาคริสต์]] และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึง[[จีน]]เคยใช้เป็นภาษากลางระหว่าง[[ชาวอาหรับ]]กับ[[ชาวเปอร์เซีย]]ก่อนจะถูกแทนที่ด้วย[[ภาษาอาหรับ]]เมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13
 
== การจัดจำแนก ==