ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เชื้อเพลิงไฮโดรเจน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''เชื้อเพลิงไฮโดรเจน''' ถูกนำไปใช้ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีหรือจุดระเบิดในเครื่องสันดาปภายในเพื่อให้พลังงานกับอุปกรณ์อิเล็กโทรนิคส์หรือรถไฟฟ้า มันยังถูกใช้ในการขับเคลื่อนยานอวกาศ และมีศักยภาพที่จะถูกผลิตในเชิงพานิชย์เพื่อใช้กับการขนส่งทั้งภาคพิ้นดินและทางอากาศ เชื้อเพลิงไฮโดรเจนไม่ปล่อยมลภาวะในสิ่งแวดล้อม
[[ไฟล์:Space Shuttle diagram.jpg|thumb|ภาพแสดงกระสวยอวกาศที่ประกอบด้วยถังแก๊สไฮโดรเจนเหลวเพือเป็นเชื้อเพลิงหลักในการนำยานขึ้นสู่อวกาศ]]
[[ไฮโดรเจน]]เป็นธาตุแรกในตารางธาตุ เป็นธาตุที่เบาที่สุดในโลก เนื่องจากมันเบามาก มันมักจะมัจะลอยขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ จึงยากที่จะได้เห็นมันในรูปบริสุทธิ์คือ H2 ในเปลวแก๊สไฮโดรเจนหรือในขณะที่กำลังใหม้ในอากาศ H2 จะทำปฏิกิริยากับ O2 เป็นน้ ำ(H2O) และปล่อยความร้อนออกมา กับ ไนโตรเจนออกไซด์อีกเล็กน้อย
 
ในเมื่อไฮโดรเจนติดไฟได้ มันจึงทำตัวเหมือนกับว่ามันเป็นเชื้อเพลิง แต่มันเป็นแค่พาหะของพลังงานตัวหนึ่งเท่านั้น เหมือนกับไฟฟ้า ที่ไม่ใช่แหล่งพลังงาน ดังนั้น ไฮโดรเจนจึงต้องถูกสร้างขึ้นมา ซึ่งการผลิตมันขึ้นมา ทำให้เกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม เพราะมันต้องการเชื้อเพลิงพลังงานอย่างอื่นในการผลิต เชื้อเพลิงที่ใช้ผลิตมีปริมาณพลังงานมากกว่าพลังงานที่ตัวมันเองสามารถผลิตได้เสียอีก ซึ่งผิดหลักการอนุรักษ์พลังงาน ยกตัวอย่าง ไฮโดรเจน 1 กก ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าในการผลิต 39 หน่วย ไฮโดรเจน 1 กก มีพลังงาน 123 MJ แต่พลังไฟฟ้า 1 หน่วย เท่ากับ 3.6 MJ พลังไฟฟ้า 39 หน่วย เท่ากับ 39x3.6 =140 หน่วย แสดงว่า ต้องใช้พลังงาน 140 MJ เพื่อผลิตให้ได้พลังงาน 123 MJ<ref>[http://www2.dede.go.th/hydronet/01Knowledge/02Electrolysis/ElectrolsisMain.html], การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า</ref>