ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายแซลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Salic Law.png|thumb|270px |พระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงแถลงกฎหมายแซลิก ท่ามกลางแม่ทัพนายกองของพระองค์]]
 
'''กฎหมายแซลิก''' ({{lang-la|Lex Salica}}; {{lang-en|Salic law}}) หรือ '''ประชุมกฎหมายอนารยชน''' ({{lang-en|Code of the Barbaric Laws}}) เป็นกลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับชนชาติแฟรงค์แซเลียน (Salian Franks) เมื่อต้น[[ยุคกลาง]]ระหว่างรัชสมัยของ[[โคลวิสที่ 1|พระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 โดยสันนิษฐานกันว่ากฎหมายแซลิกรวบรวมขึ้นระหว่างปี [[ค.ศ. 507]] ถึงปี [[ค.ศ. 511]]<ref>Fosberry, John trans, ''Criminal Justice through the Ages'', English trans. John Fosberry. Mittalalterliches Kriminalmuseum, Rothenburg ob der Tauber, (1990 Eng. trans. 1993) p.7</ref>. บทที่สำคัญที่สุดของกฎหมายแซลิกคือบทที่ว่าด้วยการสืบมรดก โดยห้ามสตรีสืบมรดก โดยเฉพาะ ห้ามครองประเทศหรือแว่นแคว้น จึงมีผู้ใช้ "กฎหมายแซลิก" เป็นคำพ้องความหมายกับ "กฎหมายมรดก" แต่ตามความเป็นจริงแล้วกฎหมายแซลิกยังครอบคลุมไปถึงกฎหมายอื่น ๆ นอกจากกฎหมายมรดก และเป็นรากฐานของกฎหมายต่าง ๆ ในทวีปยุโรปปัจจุบัน
 
== ทั่วไป ==
บัญญัติพระเจ้าชาร์เลอมาญมีพื้นฐานมาจากกฎหมายแซลิกและมีอิทธิพลพอ ๆ กับกฎหมายของ[[กรีซ]] และ [[โรม]] กฎหมายแซลิกจึงเป็นรากฐานของกฎหมายที่มีอิทธิพลมาจนถึงสมัยปัจจุบันในยุโรปตอนกลาง โดยเฉพาะในกฎหมายของ[[ประเทศเยอรมนี]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] บางส่วนของ[[ประเทศอิตาลี]]และ[[ออสเตรีย]] และบางส่วนของยุโรปตะวันออก
 
กฎหมายแซลิกครอบครุมกครอบคลุมกฎเกี่ยวกับ[[มรดก]], [[กฎหมายอาญา]] และการฆาตกรรม กฎหมายระบุว่าค่าเสียหายและค่าปรับต้องจ่ายให้กับผู้เสียหายส่วนหนึ่งและอีกส่วนหนึ่งให้แก่ค่าใช้จ่ายของศาล การตีความหมายในการตัดสินทำโดยลูกขุน กฎหมายแซลิกทำให้มองเห็นถึงภาพลักษณ์ของสังคมของชนแฟรงค์ เช่น กฎหมายแซลิกว่า ผู้ใดที่มิได้เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว ผู้นั้นจะได้รับการปกป้องโดยกฎหมาย
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}