ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอมโมนอยด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุทธิศักดิ์15132 (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 44:
 
===อันดับและอันดับย่อย===
[[Imageไฟล์:1212amma.jpg|thumb|แอมโมนิติกแอมโมนอยด์ที่ห้องลำตัวแตกหายไป แสดงผิวของผนังกั้น (โดยเฉพาะด้านขวา) และสันและพูที่โค้งตวัดไปมา]]
 
ต่อไปนี้เป็น 4 อันดับและอีกหลายอันดับย่อยของแอมโมนอยดีที่เรียงลำดับจากเก่าแก่โบราณที่สุดไปหาที่มีความเก่าแก่น้อยกว่า
บรรทัด 65:
 
==การดำรงชีวิต==
[[Imageไฟล์:Ammonite Jeletzkytes.jpg|thumb|''Jeletzkytes'' แอมโมไนต์ยุคครีเทเชียสจากสหรัฐอเมริกา]]
[[Imageไฟล์:Ammonite Asteroceras.jpg|thumb|[[Asteroceras]] แอมโมไนต์ยุคจูแรสซิกจากประเทศอังกฤษ]]
เพราะว่าแอมโมไนต์และเครือญาติที่ใกล้ชิดได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วจึงทำให้รู้จักการดำรงชีวิตของมันได้น้อยมาก เป็นการยากที่จะพบชิ้นส่วนเนื้อเยื่อของมันจึงไม่อาจเข้าใจการดำรงชีวิตในรายละเอียดได้ กระนั้นกระตามได้มีการศึกษาทดสอบกันมากเกี่ยวกับเปลือกกระดองของแอมโมนอยด์ และโดยการใช้แบบจำลองของเปลือกกระดองในถังน้ำ
บรรทัด 75:
 
===กายวิภาคพื้นฐานของเปลือกกระดอง===
[[Imageไฟล์:Haeckel Ammonitida.jpg|thumb|left|แอมโมไนต์รูปแบบต่างๆ จาก[[Ernst Haeckel]]'s 1904 ''Kunstformen der Natur'' (Artforms of Nature).]]
 
ส่วนที่เป็นห้องของเปลือกกระดองแอมโมไนต์จะเรียกว่า “[[แฟรกโมโคน]]” โดยจะมีชุดของห้องหลายห้อง (แชมเบอร์) ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นไปเรื่อยๆ เรียงลำดับกันไป เรียกว่า คาเมอรี ซึ่งห้องต่างๆถูกกั้นด้วยแผ่นผนังที่เรียกว่า “[[เซฟต้า]]” ห้องสุดท้ายจะเป็นห้องที่ใหญ่ที่สุดเรียกว่า [[บอดี้แชมเบอร์]] ซึ่งเป็นที่อยู่ของสัตว์ที่มีชีวิต ขณะที่มันเจริญเติบโตขึ้นไปก็จะสร้างห้องใหม่ที่ใหญ่ขึ้นไปเรื่อยๆที่เปิดออกด้านปลายสุดของขดเปลือกกระดอง
บรรทัด 84:
 
===ภาวะทวิสัณฐานทางเพศ===
[[Imageไฟล์:Peltoceras solidum Israel.JPG|thumb|แอมโมไนต์ชนิดหนึ่ง [[ยุคจูแรสซิก]]]]
ลักษณะหนึ่งที่พบในเปลือกกระดองของ[[หอยงวงช้าง]]ปัจจุบันคือความแปรผันในรูปร่างและขนาดอันเนื่องมาจากเพศที่ต่างกันของสัตว์ โดยเปลือกกระดองของเพศผู้ค่อนข้างเล็กและกว้างกว่าของเพศเมีย ภาวะทวิสัณฐานทางเพศนี้ถูกนำมาอธิบายในเรื่องความแปรผันของขนาดของเปลือกกระดองแอมโมไนต์สายพันธุ์เดียวกันด้วย กล่าวคือเปลือกกระดองใหญ่กว่า (เรียกว่า ‘’’มาโครคองช์’’’) เป็นเพศเมีย และเปลือกกระดองที่เล็กกว่า (เรียกว่า ‘’’ไมโครคองช์’’’) เป็นเพศผู้ โดยเข้าใจได้ว่าเนื่องมาจากเพศเมียต้องการขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่าเพื่อการผลิตไข่ ตัวอย่างที่ดีอันหนึ่งในเรื่องความแปรผันอันเนื่องจากเพศนี้พบได้ใน “[[ไบเฟอริเซอแรส]]” จากช่วงต้นๆของยุคจูแรสซิกใน[[ยุโรป]]
 
บรรทัด 97:
 
===แอพทีคัส===
[[Fileไฟล์:Trigonellites latus.jpg|thumb|รูปวาดของแอพทีคัสแผ่นหนึ่งชื่อ "[[Trigonellites latus]]" จากหมวดหินดินเหนียวคิมเมอริดจ์ ประเทศอังกฤษ]]
เหมือนกับหอยงวงช้างในปัจจุบัน ที่แอมโมไนต์จำนวนมากสามารถหดตัวเองเข้าไปอยู่ในห้องสุดท้ายของเปลือกกระดองและได้พัฒนาแผ่นปิดช่องเปิดขึ้น ไม่เป็นชนิดแผ่นเดี่ยวก็เป็นชนิดแผ่นคู่ของสารแร่แคลไซต์ ช่องเปิดดังกล่าวเรียกว่า “อะเพอเจอร์” จะเรียกแผ่นปิดว่า “[[แอฟทีคัส]]” ในกรณีที่เป็นแผ่นปิดคู่ และจะเรียกว่า “เอแนพทีคัส” ในกรณีที่เป็นแผ่นปิดเดี่ยว แผ่นปิดคู่แบบแอพทีคัสจะมีสมมาตรซึ่งกันและกันและดูจะมีขนาดเท่ากันด้วย
 
บรรทัด 109:
 
==ขนาด==
[[Imageไฟล์:AmmoniteFossil.JPG|thumb|ซากดึกดำบรรพ์แอมโมไนต์ขนาดใหญ่]]
มีแอมโมไนต์เพียงจำนวนเล็กน้อยที่พบในส่วนล่างและส่วนกลางของยุคจูแรสซิกซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางได้มากถึง 23 เซนติเมตร แอมโมไนต์ตัวใหญ่ๆจำนวนมากถูกค้นพบในหินอายุหลังๆในช่วงส่วนบนของยุคจูแรสซิกและช่วงส่วนล่างของยุคครีเทเชียส อย่างเช่น “ไททันไนต์” จากพอร์ตแลนด์สโตนยุคจูแรสซิกทางตอนใต้ของอังกฤษ ซึ่งปรกติแล้วจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 53 เซนติเมตร และ “[[พาราปูโซเซีย เซปเปนราเดนซิส]]” ยุคครีเทเชียสในเยอรมนีซึ่งรู้กันว่าเป็นแอมโมไนต์ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่มีการค้นพบมาโดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 2 เมตร ขณะที่แอมโมไนต์ที่พบในอเมริกาเหนือคือ “พาราปูโซเซีย เบรดีไอ” ยุคครีเทเชียสวัดเส้นผ่านศูนย์กลางได้เพียง 137 เซนติเมตร ทั้งนี้ได้มีการค้นพบใหม่ชิ้นหนึ่งในบริติชโคลัมเบีย (หากเป็นจริง) ก็ดูเหมือนว่าจะมีขนาดเหนือกว่าและแม้แต่จะใหญ่กว่าแชมป์ในยุโรป
 
==การแพร่กระจาย==
[[Imageไฟล์:Hoploscaphites_ammonite.jpg|thumb|left|แอมโมไนต์ ''[[โฮโปลสคาพิทิส]]'' จาก [[Pierre Shale]] ของ [[เซ้าธ์ ดาโกต้า]]]]
เมื่อเริ่มต้นจากช่วงปลายของยุคไซลูเรียนเป็นต้นมา ได้มีการค้นพบแอมโมไนต์เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งแอมโมไนต์ในมหายุค[[มีโซโซอิก]] แอมโมไนต์หลายสกุลได้วิวัฒนาการอย่างรวดเร็วและสูญพันธุ์ไปหลังจากนั้นไม่กี่ล้านปีต่อมา เนื่องแอมโมไนต์มีการวิวัฒนาการที่รวดเร็วและมีการแผ่กระจายตัวไปอย่างกว้างขวาง นักธรณีวิทยาและนักบรรพชีวินวิทยาจึงได้นำมาใช้ในทางการลำดับชั้นทางชีวภาพ แอมโมไนต์เป็นซากดึกดำบรรพ์ดัชนีที่ดีเยี่ยมและเป็นไปได้ที่จะใช้เชื่อมโยงเปรียบเทียบชั้นหินและให้อายุทางธรณีวิทยา
 
บรรทัด 122:
หมวดหินปิแอร์เชล ยุคครีเทเชียสในสหรัฐอเมริกาและ[[แคนานา]]เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นแหล่งที่ให้ซากดึกดำบรรพ์แอมโมไนต์ที่หลากหลาย อย่างเช่น “บาคูไรต์” “พลาเซนติเซอแรส” “[[สกาไพต์]]” “โฮโพลสคาพิทีส” “เจเรตซ์กีทีส” และรูปแบบอันคอยล์จำนวนมาก ซากดึกดำบรรพ์เหล่านี้ยังถูกเก็บรักษาไว้ในสภาพที่ใกล้เคียงกับสภาพดั้งเดิมมากที่ยังมีสภาพบอดี้แชมเบอร์ที่สมบูรณ์ แอมโมไนต์ในแหล่งนี้และจริงๆแล้วรวมถึงแอมโมไนต์ทั้งหลายตลอดประวัติของโลกถูกพบว่าอยู่ใน[[มวลสารพอก]]
 
[[Imageไฟล์:IridescentAmmonite.jpg|thumb|แอมโมไนต์ที่มีสีสันจาก[[มาดากัสการ์]]]]
ซากดึกดำบรรพ์อื่นๆดังเช่นที่พบใน[[มาดากัสการ์]]และ[[แอลเบอร์ต้า]] (แคนาดา) แสดงลักษณะที่มีสีสัน แอมโมไนต์ที่มีสีสันเหล่านี้ปรกติแล้วจะมีคุณภาพในระดับอัญมณี ([[แอมโมไลต์]]) เมื่อทำการขัดตกแต่งเพิ่มเติม สีสันเหล่านี้จะไม่ปรากฏให้เห็นในช่วงที่ยังมีชีวิตอยู่เนื่องจากถูกปกคลุมด้วยชั้นเปลือกกระดองเพิ่มเติม