ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญานาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Niranarm (คุย | ส่วนร่วม)
add กาฬนาคราช
บรรทัด 5:
[[พระไตรปิฎกภาษาบาลี]]กล่าวถึงนาคราชหลายตน เช่น
* '''มณีกัณฐ์''' มีแก้วมณีประดับที่คอ อาศัยในแม่น้ำคงคา ศรัทธาฤๅษีตนหนึ่งจึงขึ้นมาขดตัว 7 รอบแล้วแผ่พังพานใหญ่บนศีรษะฤๅษีนั้น<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=1&siri=48 กุฏิการสิกขาบท], พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑</ref>
*'''กาฬนาคราช''' ที่หลับไหลอยู่ใต้บาดาล จะตื่นขึ้นเมื่อจะมีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ ครั้งล่าสุดคือเมื่อ วันขึ้น 14 ค่ำเดือน 6 เมื่อพระโคตมพุทธเจ้าลอยถาดทองคำเสี่ยงทาย เสียงของถาดทองคำที่ลอยทวนน้ำและจมลงกระทบกับถาดทองคำอีก 3 ใบ (ของพระพุทธเจ้า 3 พระองค์ก่อนหน้าในภัทรกัปนี้) ปลุกให้กาฬนาคราชตื่นขึ้นและสวดมนต์สรรเสริญพระพุทธเจ้าก่อนที่จะกลับไปหลับต่อ
* '''[[มุจลินท์]]''' ได้ขดตัว 7 รอบพระโคตมพุทธเจ้า แล้วแผ่พังพานใหญ่บนพระเศียรเพื่อปกป้องพระองค์จากสภาพอากาศและสัตว์ต่าง ๆ ระหว่างทรงเสวยวิมุตติสุขใต้ต้นจิกหลังตรัสรู้<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=4&siri=3 มุจลินทกถา], พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑</ref> เป็นที่มาของ[[ปางนาคปรก]]
* '''สุปัสสะ''' ผู้กราบทูลพระพุทธเจ้าว่านาคที่ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสอาจทำร้ายภิกษุที่ฉันเนื้องู เมื่อพญานาคกลับไปหลังจากฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้ว ก็ทรงบัญญัติสิกขาบทว่าภิกษุฉันเนื้องูต้องอาบัติทุกกฏ<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=5&A=1372&Z=1508&pagebreak=0 พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้องู], พระไตรปิฎกเล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒</ref>
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พญานาค"