ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเอสเปรันโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูลนิดหน่อย เติมการอ้างอิง เพิ่มลิงก์
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
|date= 2004
|speakers2 = [[ภาษาที่สอง]]: ประมาณ 2 ล้านคน (1999)
|fam2=[[ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ]]
|fam2=[[International auxiliary language]]
|posteriori=รากศัพท์มาจาก [[กลุ่มภาษาโรมานซ์]] กับ [[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก]], ระบบไวยากรณ์มาจาก [[กลุ่มภาษาสลาวิก]]
|ancestor=[[Proto-Esperanto]]
|dialects=[[ภาษาอิดออิโด]] และ [[Esperantido]] อื่น ๆ
|agency={{lang|eo|[[สถาบันเอสเปรันโต|Akademio de Esperanto]]}}
|script=[[อักษรละติน]] ([[อักษรภาษาเอสเปรันโต]])<br/>[[อักษรเบรลล์ภาษาเอสเปรันโต]]
บรรทัด 31:
}}
 
'''ภาษาเอสเปรันโต''' (Esperanto) หรือชื่อเดิม '''Lingvo Internacia''' เป็น[[ภาษาประดิษฐ์]]ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากล (International auxiliary language) ที่ใช้กันมากที่สุดในโลก<ref>Byram, Michael (2001). Routledge Encyclopedia of Language Teaching and Learning. Routledge. pp. 464. ISBN 0-415-33286-9.</ref> เป็นหนึ่งในภาษาที่มีกลุ่มผู้ใช้น้อยกลุ่มหนึ่งของโลก โดยถูกออกแบมาเพื่อใช้เป็นเครื่องสื่อสารทางเลือกและเป็นผลงานสรรสร้างสรรค์ทางศิลปะอย่างหนึ่ง<ref>[http://www.esperantio.net/index.php?id=3549 Nia tradukarto vekis grandan intereson en PEN] HeKo, nro 682 7-B, la 22-an de Junio 2018.</ref> คิดค้นโดยในปี พ.ศ.2555 ภาษาเอสเปรันโตถูกเพิ่มเ้ขาไปใน[[กูเกิล แปลภาษา|กูเกิลแปลภาษา]]<ref>Google Translate Blog (2012) [https://translate.googleblog.com/2012/02/tutmonda-helplingvo-por-ciuj-homoj.html Tutmonda helplingvo por ĉiuj homoj]</ref> ในปี พ.ศ.2559 ปรากฎชื่อภาษาเอสเปรันโตในลิสต์รายชื่อภาษาที่เป็นที่รู้จักและเรียนมากในประเทศฮังการี<ref>[https://web.archive.org/web/20160705083402/nyak.hu/doc/statisztika.asp?strId=_43_ Oktatási Hivatal: Nyelvvizsga-statisztikák.] Nyelvvizsgáztatási Akkreditációs Központ. จาก[https://nyak.oh.gov.hu/doc/statisztika.asp ต้นฉบับ]เมื่อวันที่ 2016-07-05.</ref> ชื่อภาษาเอสเปรันโตมาจากนามปากกา “D-ro Esperanto„ ในหนังสือของ [[แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ]] (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ยิว ซึ่งเป็นหนังสือพื้นฐานของภาษานี้เล่มแรก (โดยมักเรียกชื่อหนังสือเล่มนี้ว่า [[Unua Libro]])ซึ่งเขียนในช่วงที่ภาษารัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) ได้รับการอนุญาตจำหน่ายเมื่อวันที่ [[26 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2430|พ.ศ. 2430]] โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนเรียนรู้ได้ง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ '''เอสเปรันโต''' มาจากนามปากกา ดร. เอสเปรันโต (D-ro Esperanto) จากหนังสือเล่มแรกที่นำเสนอภาษาเอสเปรันโต (Unua Libro)
 
ประมาณการกันว่ามีผู้พูดภาษาเอสเปรันโตมากกว่า 2,000,000 คน และที่ไม่เหมือนกับภาษาประดิษฐ์อื่นคือมีผู้ที่พูดภาษานี้มาตั้งแต่เกิดประมาณ 2,000 คน [[สมาคมเอสเปรันโตสากล]] (Universala Esperanto-Asocio) มีสมาชิกอยู่ในมากกว่า 120 ประเทศ
บรรทัด 42:
 
== ประวัติ ==
ภาษาเอสเปรันโตคิดค้นขึ้นช่วงปลาย [[คริสต์ทศวรรษ 1870]] และต้น [[คริสต์ทศวรรษ 1880]] โดย[[แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ|ซาเมนฮอฟ]]ในช่วงเวลาพัฒนา 10 ปีนั้น ซาเมนฮอฟได้ใช้เวลาในการแปลวรรณกรรมต่าง ๆ มาเป็นภาษาเอสเปรันโต รวมทั้งการเขียนและพัฒนาหลักไวยกรณ์ต่างๆของภาษา โดยหนังสือไวยกรณ์เล่มแรกในภาษาเอสเปรันโต ชื่อ Международный языкъ. Предисловіе и полный учебникъ หรือที่เรียกกันว่า [[อูนูอาลิโบร]] (Unua Libro ความหมายในภาษาเอสเปรันโตว่า ''หนังสือเล่มแรก'') ตีพิมพ์ที่ [[วอร์ซอว์|กรุงวอร์ซอว์]] ในเดือน [[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2430]] ซึ่งหลังจากนั้นจำนวนผู้ใช้ภาษาเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน 20 ปีต่อมา โดยเริ่มต้นจาก[[จักรวรรดิรัสเซีย]] และ [[ยุโรปตะวันออก]] และได้เข้าสู่ [[ยุโรปตะวันตก]] [[อเมริกา]] [[ประเทศจีน]] และ [[ประเทศญี่ปุ่น]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2448]] [[การประชุมเอสเปรันโตโลก|การประชุมเอสเปรันโตสากล]] ได้จัดตั้งขึ้น โดยจัดครั้งแรกที่เมือง บูโลญจน์ ซูร์ แมร์ (Boulogne-sur-Mer) ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] และหลังจากนั้นมีการจัดประชุมกันทุกปี (ยกเว้นช่วงสงครามโลก) โดยเปลี่ยนสถานที่จัดไปทั่วโลก
 
ในปัจจุบันภาษาเอสเปรันโตไม่ได้เป็น[[ภาษาทางการ]]ของประเทศใด แต่ได้มีการเรียนการสอนในหลายประเทศ อย่างไรก็ตามในต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] บริเวณ[[โมเรสเนต|ฉนวนโมเรสเนต]] (Neutral Moresnet, 2359-2462) ได้ถือว่าเป็นรัฐแรกที่ใช้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาทางการ