ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันเข้าพรรษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 223.24.133.202 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Wanchai154
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
วันเทโว1ค่ำเดือน11 การเข้าพรรษา เป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะ ซึ่ง[[พุทธศาสนิกชน]]ถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลแก่พระสงฆ์ที่จำพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมเพื่อละเว้น[[อกุศล|สิ่งไม่ดี]]เพื่อพยายาม[[กุศล|ประกอบความดี]]ในช่วงนี้อีกด้วย]]
{{พุทธศาสนา}}
{{ความหมายอื่น|วันสำคัญทางพุทธศาสนา|เข้าพรรษาความหมายอื่น|เข้าพรรษา}}
[[ไฟล์:Vassa inWat Up Mung.jpg|170px|thumb|วันเทโว1ค่ำเดือน11เข้าพรรษา หรือ การเข้าพรรษา เป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะ ซึ่ง[[พุทธศาสนิกชน]]ถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลแก่พระสงฆ์ที่จำพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมเพื่อละเว้น[[อกุศล|สิ่งไม่ดี]]เพื่อพยายาม[[กุศล|ประกอบความดี]]ในช่วงนี้อีกด้วย]]
 
'''วันเข้าพรรษา ''' ([[บาลี]]: วสฺส, [[สันสกฤต]]: วรฺษ, {{lang-en|Vassa}}, [[เขมร]]: វស្សា, [[พม่า]]: ဝါဆို) เป็น[[วันสำคัญในพุทธศาสนา]]วันหนึ่งที่[[พระสงฆ์]][[เถรวาท]]จะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่[[พระธรรมวินัย]]บัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือภาษาปากว่า '''จำพรรษา''' ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 '''วัสสูปนายิกขันธกะ'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=4&A=5450&Z=5501&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52</ref> การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือ[[วันออกพรรษา]]