ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก."

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
}}
 
'''ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.''' ({{lang-en|Kor Royal Cup}}) หรือชื่อเดิม '''''ถ้วยใหญ่''''' ''(เปลี่ยนชื่อในปี [[พ.ศ. 2506]])'' เป็การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานระดับชั้นที่ 1 ของประเทศไทย โดยจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2459]] พร้อมกับ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.]] หรือ ''ถ้วยน้อย'' โดย สโมสรกรมมหรสพ สามารถคว้าแชมป์ในรายการนี้เป็นทีมสโมสรแรก
 
ต่อมาได้มีการเปลื่ยนแปลงรูปแบบการแข่งขัน ในปี [[พ.ศ. 2539]] เมื่อ [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ]] ได้มีการจัดการแข่งขัน [[ไทยพรีเมียร์ลีก|ไทยลีก]] ขึ้น ทำให้มีการปรับปรุงให้เป็นการแข่งขันในรูปแบบซูเปอร์คัพ โดยเป็นการแข่งขันระหว่าง สโมสรชนะเลิศของลีก กับ สโมสรชนะเลิศ [[ไทยเอฟเอคัพ]] (ต่อมา เมื่อมีการว่างเว้นการแข่งขัน เอฟเอ คัพ ในปี 2545 จึงได้นำสโมสรรองชนะเลิศของลีกมาทำการแข่งขันแทน จนถึงปี 2552)
ในปี [[พ.ศ. 2506]] [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย]] ได้ทำการเปลี่ยนชื่อฟุตบอลถ้วยใหญ่และฟุตบอลถ้วยน้อยเป็น ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. และ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. และได้เพิ่ม [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.]] และ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.]] เข้ามาตามแบบฟุตบอลลีกของประเทศอังกฤษในขณะนั้น
 
ต่อมาในปี 2560 ได้มีการยกเลิก การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. โดยแปรสภาพเป็นการแข่งขัน [[ไทยแลนด์แชมเปียนส์คัพ]] ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับการแข่งขัน ถ้วย ก. เหมือนเช่นที่ผ่านมา<ref name=":0">http://www.smmsport.com/reader.php?news=191882 ชื่อใหม่ถ้วยใหม่! Thailand Champions Cup กิเลนหวดสุโขทัย - SMMSPORT.com</ref>
ในปี [[พ.ศ. 2539]] สมาคมฯ เปลี่ยนแปลงระบบการแข่งขันฟุตบอล จากวัตถุประสงค์เพื่อความเป็นเลิศ มาเป็นรูปแบบอาชีพ จึงเริ่มจัดการแข่งขัน[[ไทยพรีเมียร์ลีก]]ขึ้นมาและปรับปรุงให้ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ก เป็นการแข่งขันระหว่างทีมชนะเลิศกับรองชนะเลิศของไทยพรีเมียร์ลีก
 
== ประวัติความเป็นมา ==
ในปี [[พ.ศ. 2553]] ได้เริ่มจัดการแข่งขัน[[ไทยเอฟเอคัพ]] จึงปรับปรุงอีกครั้ง ให้เป็นการแข่งขันก่อนเปิดฤดูกาล ระหว่างทีมชนะเลิศไทยพรีเมียร์ลีก พบกับทีมชนะเลิศไทยเอฟเอคัพ หรือถ้าหากแชม์ทั้ง 2 รายการเป็นทีมเดียวกันจะแข่งกับรองชนะเลิศของไทยพรีเมียร์ลีกแทน (รูปแบบเดียวกับ[[เอฟเอคอมมูนิตีชีลด์]]ของอังกฤษ) ส่วนถ้วยพระราชทานประเภท ข., ค. และ ง. เป็นการแข่งขันประจำฤดูกาล ในระดับชั้นรองลงมาของโซนกรุงเทพฯ ตามลำดับ โดยผู้ชนะถ้วยพระราชทานประเภท ข. จะได้เลื่อนชั้นไปแข่งขัน[[ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2]] โซนกรุงเทพฯ ต่อมา
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีจัดการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสรครั้งแรกในประเทศ โดยมีชื่อการแข่งขันว่า '''การแข่งขันฟุตบอลสำหรับพระราชทานถ้วยทองของหลวง''' ขึ้นเมื่อปี 2458 โดยสโมสรที่เข้าร่วม ส่วนใหญ่เป็นสโมสรของทหาร ตำรวจ [[กองเสือป่า|เสือป่า]] และข้าราชบริพาร<ref name=":1">http://www.siamfootball.com/index.php/2017-07-18-12-23-04/35-2017-07-19-13-29-52 บทความ เรื่อง "ถ้วยใหญ่แห่งสยามประเทศ" - SiamFootball</ref>
 
ต่อมา เมื่อมีการสถาปนา [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|คณะฟุตบอลแห่งสยาม]] เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2459 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานถ้วยรางวัลแด่สโมสรชนะเลิศ ก็คือ ''ถ้วยใหญ่'' และ ''ถ้วยน้อย'' ให้แก่คณะฯ เพื่อจัดการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสร ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี ณ [[สนามเสือป่า]] โดยสโมสรชนะเลิศจะได้นำไปครอบครองเป็นเวลา 1 ปี โดยเริ่มต้นจัดขึ้น ในช่วงปลายปีเดียวกัน<ref name=":1" />
ในปี [[พ.ศ. 2559]] สมาคมฯ ได้ยุบถ้วยพระราชทานประเภท ข., ค. และ ง. โดยรวมกันเป็น[[ไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์]] (หรือลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 3 ในขณะนั้น) นอกจากนี้ถ้วยพระราชทานประเภท ก. ได้โอนไปเป็นถ้วยสำหรับแชมป์[[ไทยลีก]] ถ้วยพระราชทานประเภท ข. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์ [[ไทยลีก 2]] ถ้วยรางวัลพระราชทานประเภท ค. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์ [[ไทยลีก 4]] และถ้วยรางวัลพระราชทานประเภท ง. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์ [[ไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์]] ทำให้การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก., ข., ค. และ ง. สิ้นสุดลงโดยฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. ยังคงรูปแบบเดิมคือแชมป์ลีกดวลแชมป์เอฟเอคัพแต่ได้มีการเปลี่ยนชื่อและถ้วยเป็น [[ไทยแลนด์แชมเปียนส์คัพ]]
 
=== เปลื่ยนชื่อการแข่งขัน ===
ต่อมา ในปี 2505 ในรัชสมัย [[พ.ศ. 2506พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยไทยฯ]] ได้ทำการเปลี่ยนชื่อฟุตบอลขอพระราชทานถ้วยใหญ่และฟุตบอลถ้วยน้อยเป็นพระราชทานเพิ่มเติม คือ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท .]] และ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท .]] ทำให้ต้องมีการเปลี่ยนชื่อ ฟุตบอลถ้วยใหญ่ และได้เพิ่ม [[ฟุตบอลถ้วยน้อย เป็น ''ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท .]]'' และ ''[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท .]]'' เข้ามาโดยยึดหลักตามแบบ ฟุตบอลลีกของประเทศอังกฤษในขณะนั้น<ref name=":1" />
 
=== ปรับปรุงการแข่งขัน ===
ต่อมาในปี 2539 เมื่อ [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ]] มีการปรับปรุงการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสร ให้มีความเป็นมืออาชีพ จึงได้มีการแข่งขัน [[ไทยพรีเมียร์ลีก|ไทยแลนด์ลีก]] ขึ้น โดยได้ยก การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. เป็นการแข่งขันในรูปแบบซูเปอร์คัพ โดยจะนำ สโมสรชนะเลิศของลีก กับ สโมสรชนะเลิศ [[ไทยเอฟเอคัพ]] มาทำการแข่งขันแบบนัดเดียวรู้ผล ในสนามที่เป็นกลางแทน (รูปแบบเดียวกับ [[เอฟเอคอมมูนิตีชีลด์|เอฟเอ คอมมูนิตี ชีลด์]] ของอังกฤษ) จนกระทั่งในปี 2545 จึงได้มีการนำสโมสรรองชนะเลิศของลีก มาทำการแข่งขัน โดยจะจัดขึ้นก่อนหน้า การแข่งขันลีก ประมาณ 1 สัปดาห์
 
กระทั่งในปี [[พ.ศ. 2553]] ที่ได้เริ่มกลับมาจัดการแข่งขัน [[ไทยเอฟเอคัพ]] จึงมีการปรับปรุงอีกครั้ง ให้เป็นการแข่งขันก่อนเปิดฤดูกาล ระหว่างทีมสโมสรชนะเลิศ [[ไทยพรีเมียร์ลีก]] พบแข่งขันกับทีม สโมสรชนะเลิศ ไทยเอฟเอคัพ หรือถ้าหากแชม์ทั้งสโมสรชนะเลิศทั้ง 2 รายการเป็นทีมสโมสรเดียวกัน ก็จะแข่งกับสโมสรรองชนะเลิศของไทยพรีเมียร์ลีกแทน<ref>https://sport.mthai.com/other/5833.html (รูปแบบเดียวกับ[[เอฟเอคอมมูนิตีชีลด์]]ของอังกฤษ)ฟุตบอล ส่วนชิงถ้วยพระราชทาน ก ประจำปี 2553 - MThai.com</ref> ด้านการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. , ค. และ ง. จะเป็นเป็นการแข่งขันประจำฤดูกาล ในระดับชั้นรองลงมาของ โซนกรุงเทพฯ ตามลำดับ โดยผู้ชนะสโมสรชนะเลิศการแข่งขัน ถ้วยพระราชทานประเภท ข. จะได้เลื่อนชั้นไปแข่งขัน [[ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2]] โซนกรุงเทพฯ ต่อมาในฤดูกาลถัดไป
 
ในปี [[พ.ศ. 2559]] สมาคมฯ ได้ทำการยุบการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข., ค. และ ง. โดยรวมกันเป็น [[ไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์]] (หรือ|ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 3]]<ref>https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/41244 ในขณะนั้น)“ทนายอ๊อด” เตรียมยื่นร้อง กกท. หลังส.บอลจัด ดี3 - PPTV 36</ref> ต่อมา ทางสมาคมฯ ได้โอน นอกจากนี้ถ้วยพระราชทานประเภท ก. ได้โอนไปเป็นถ้วยสำหรับแชมป์สโมสรชนะเลิศ [[ไทยลีก]] ถ้วยพระราชทานประเภท ข. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์สโมสรชนะเลิศ [[ไทยลีก 2|ดิวิชั่น 1]] ถ้วยรางวัลพระราชทานประเภท ค. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์สโมสรชนะเลิศ [[ไทยลีก 4|ดิวิชั่น 2]] และ ถ้วยรางวัลพระราชทานประเภท ง. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์ [[ไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์|ดิวิชั่น 3]] ทำให้การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก., ข., ค. และ ง. สิ้นสุดลงโดยฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. แต่รูปแบบการแข่งขันยังคงรูปแบบเดิมคือแชมป์ลีกดวลแชมป์เอฟเอคัพ แต่ได้มีการเปลี่ยนชื่อการแข่งขัน และ ถ้วยเป็นรางวัล ในนามการแข่งขัน [[ไทยแลนด์แชมเปียนส์คัพ|ไทยแลนด์ แชมเปียนส์คัพ]] โดยเริ่มตันจัดในปี 2560 เป็นต้นไป<ref name=":0" />
 
== รายชื่อทีมชนะเลิศถ้วย ก ==