ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีแบริ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ciwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
โดยหลังจากเปิดให้ใช้บริการส่วนต่อขยายฟรีใน พ.ศ. 2554 สถานีแบริ่ง เป็นสถานีที่มีผู้โดยสารเข้ามาใช้บริการมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง (อันดับสองคือ[[สถานีอุดมสุข]] และอันดับสามคือ[[สถานีบางจาก]]) เนื่องจากเป็นเขตที่สิ้นสุดกับเขตจังหวัดสมุทรปราการ จึงทำให้ผู้ที่พำนักอยู่ในเขตจังหวัดสมุทรปราการมาใช้งานมากเป็นพิเศษโดยเฉพาะในช่วงเวลาเร่งด่วนทั้งเช้าและเย็น
 
ปัจจุบัน (พ.ศ. 2561) สถานีแบริ่งไม่ใช้สถานีปลายทางของระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพอีกต่อไป เนื่องจากกรุงเทพมหานคร และ[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] เปิดใช้งาน '''[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน ช่วงแบริ่ง-สมุทรปราการ]]''' ระยะที่ 1 แบริ่ง-สำโรง ทำให้มีการเดินรถเพิ่ม 1 สถานีจากแบริ่งไปจนถึงสำโรงแล้วตีกลับ หลังจากนั้นกรุงเทพมหานคร และ [[รฟม.]] จะเปิดใช้งานสถานีอื่นๆ ในโครงการภายในปี พ.ศ. 2561 แต่เนื่องมาจากข้อจำกัดของรางและจุดสับรางรถไฟฟ้า ณ [[สถานีสำโรง]] เพื่อความคล่องตัวภายในระบบ ในช่วงเวลาเร่งด่วนทั้งเช้าและเย็น จะมีการเพิ่มขบวนรถพิเศษที่สิ้นสุดสถานีปลายทาง ณ สถานีแบริ่ง โดยใช้วิธีการสับรางจากสถานีบางนาก่อนเข้าสู่สถานีแบริ่งแทน
 
== แผนผังของสถานี ==
บรรทัด 56:
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|ป้ายรถประจำทาง, ซอยลาซาล, ซอยแบริ่ง
|}
เนื่องมาจากมีการปรับแผนการเดินรถให้มีประสิทธิภาพด้วยการแยกระหว่างขบวนไปสถานีสำโรง และสถานีแบริ่ง รถไฟฟ้าที่สิ้นสุดที่สถานีแบริ่ง จะใช้ชานชาลาที่ 2 เป็นชานชาลาปลายทาง ผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางไปสถานีสำโรงจะต้องเปลี่ยนขบวนรถไปใช้ชานชาลาที่ 1 บริเวณฝั่งตรงข้าม หรือเปลี่ยนขบวนรถที่สถานีบางนา ส่วนผู้โดยสารที่ต้องการโดยสารไปยังสถานีหมอชิตจากสถานีแบริ่งจะต้องรอจนกว่าผู้โดยสารที่มาจากสถานีรายทางออกจากขบวนรถทั้งหมด และรอให้เจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบสภาพรถไฟฟ้าให้เรียบร้อยเสียก่อน
 
== รูปแบบของสถานี ==