ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 81:
 
== คลื่นความถี่ ==
โครงการสถานีโทรทัศน์เสรีในระบบ[[ยูเอชเอฟ]] ในนามสถานีโทรทัศน์ไอทีวีนั้น มี[[สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)]]เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ โดยทำสัญญาสัมปทานให้ [[สยามอินโฟเทนเมนท์|บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด]] (ภายหลังคือ [[บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน)]]) ดำเนินการจัดตั้งสถานีฯ ได้ ตั้งแต่วันที่ [[3 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2538]] และออกอากาศทางช่อง 26 มาตั้งแต่วันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2539]]
 
ต่อมา ราวปี [[พ.ศ. 2542]] ไอทีวีได้รับอนุญาตจาก สปน.ให้เปลี่ยนแปลงช่องสัญญาณที่ออกอากาศ ในระบบยูเอชเอฟ จากช่อง 26 มาเป็นช่อง 29{{อ้างอิง}} และในปีเดียวกัน ไอทีวีดำเนินการย้ายเสาส่งสัญญาณในส่วนกลางที่กรุงเทพมหานคร จากอาคาร[[เอสซีบีปาร์คพลาซ่า]] , อาคาร[[สินสาธร ทาวเวอร์]] และ [[เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป|อาคาร เนชั่น ทาวเวอร์]] มาอยู่ที่ [[อาคารใบหยก 2]] แทน โดยไอทีวีดำเนินการแพร่ภาพนิ่ง เพื่อแจ้งให้ผู้ชมทราบการเปลี่ยนแปลงช่องสัญญาณ และการย้ายเสาส่งของสถานีฯ ไว้ทางช่อง 26 พร้อมไปกับการแพร่ภาพออกอากาศตามปกติ ทางช่อง 29 ในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2542<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=CvuKQHXKsX8 โฆษณา สถานีโทรทัศน์ไอทีวี (2542)]</ref>ก่อนที่จะยุติการแพร่ภาพทางช่อง 26 อย่างสมบูรณ์ ในปีเดียวกัน และออกอากาศทางช่อง 29 เรื่อยมาจนกระทั่งเปลี่ยนชื่อเป็น[[สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี]] และ[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]] ตามลำดับ ปัจจุบันช่อง 26 ในกรุงเทพมหานคร ถูกใช้งานโดยกรมประชาสัมพันธ์เพื่อแพร่ภาพในระบบดิจิทัล