ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮอสท์-เว็สเซิล-ลีท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=290px}}
{{กล่องข้อมูล เพลงชาติ
| title = Horst-Wessel-Lied
| transcription = ฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท
| translation = เพลงฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล
| alt_title = Die Fahne hoch
| trans_alt_title = ธงอยู่สูงเด่น
| image = Horst_Wessel_Lied.jpg
| image_size = 300
| caption = สกอร์เพลงฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท
| NAcountry = {{flag|นาซีเยอรมนี}}
| composer =
| music_date =
| author = [[ฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล]]
| lyrics_date = ค.ศ. 1929
| adopted = ค.ศ. 1933
| until = ค.ศ. 1945
| sound = Песня Хорста Весселя.ogg
| sound_title = ฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท (ขับร้อง)
}}
{{multiple image
เส้น 28 ⟶ 27:
| image1 = Horst_Wessel_als_Berliner_Normanne.jpg
| width1 = 100
| caption1 = ฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล ผู้ประพันธ์เพลง "ฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท"
| image2 = Bundesarchiv Bild 147-0503, Nürnberg, Horst Wessel mit SA-Sturm.jpg
| width2 = 200
| caption2 = ฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล (คนหน้าสุด) เดินนำแถวหน่วย[[ชตูร์มับไทลุง]] (หน่วยเอ็สอา) ของตนเอง ที่เมือง[[เนือร์นแบร์ค]] ในปี [[ค.ศ. 1929]]
}}
 
'''ฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท''' ({{lang-de|Horst-Wessel-Lied}}; ''เพลงฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล'') หรือที่รู้จักจากคำขึ้นต้น '''ดีฟาเนอฮอค''' ({{lang-de|Die Fahne hoch}}; ''ธงอยู่สูงเด่น'') เป็นเพลงประจำ[[พรรคนาซี]]ตั้งแต่ ค.ศ. 1930 - ค.ศ. 1945 และใช้เป็น[[เพลงชาติ]]ร่วมของ[[นาซีเยอรมนี]] (เพลง[[ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน]]บทแรก) ตั้งแต่ ค.ศ. 1933 - ค.ศ. 1945<ref>Geisler, [http://books.google.com/books?id=CLVaSxt-sV0C&pg=PA71 p.71.]</ref>
 
เนื้อร้องของเพลงนี้ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1929 ที่เขตฟรีดริชซ์ไฮน์ [[กรุงเบอร์ลิน]] [[ประเทศเยอรมนี]] โดย[[ฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล]] ซึ่งเป็นนักเคลื่อนไหว[[ลัทธินาซี]]และเป็นผู้บัญชาการกองพลวายุ ''[[ชตูร์มับไทลุง]]'' (Sturmabteilung) หรือ ''เอ็สอา'' (SA) ระดับท้องถิ่น ต่อมาเมื่อเวสเซิลถูกอัลเบรชต์เว็สเซิลถูกอัลเบรชต์ เฮอเลอร์ (Albrecht Höhler) สมาชิก[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]]คนหนึ่งสังหารอย่างอุกอาจใน ค.ศ. 1930 [[โจเซฟ เกิบเบิลส์]]ได้ดำเนินการทำให้เขาเป็นมรณสักขีแห่งขบวนการพรรคนาซี เพลงนี้จึงได้มีการบรรเลงครั้งแรกในงานศพของเวสเซิลเองเว็สเซิลเอง และหลังจากนั้นก็ได้ถูกนำใช้อย่างเข้มข้นในการดำเนินกิจกรรมของพรรค เช่น การขับร้องเพลงนี้ของหน่วยเอสเอระหว่างการเดินแถวตามท้องถนน เป็นต้น
 
เมื่อพรรคนาซีเถลิงอำนาจในปี [[ค.ศ. 1933]] เพลงฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท ก็ได้รับการยอมรับให้เป็นสัญลักษณ์ของชาติอย่างหนึ่งตามกฎหมายซึ่งตราขึ้นเมื่อวันที่ [[19 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1933]] ในปีถัดมาจึงมีการออกข้อบังคับให้มีการชูแขนขวาทำ ''[[การสดุดีฮิตเลอร์]]'' เมื่อมีการขับร้องเพลงนี้ในบทที่ 1 และบทที่ 4 (ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน) ในตอนท้ายของภาพยนตร์เรื่อง ''[[ทรีอุมฟ์เดสวิลเลนส์|ทรีอุมฟ์เดสวิลเลนส์]]'' หรือ ''ชัยชนะแห่งเจตจำนง'' ของ[[เลนี รีเฟนสทาล]] (ภาพยนตร์โฆษณาชวนเชื่อของพรรคนาซี) ซึ่งเผยแพร่ในปี ค.ศ. 1935 จะพบว่าบรรดาผู้นำของพรรคนาซีมีการร่วมร้องเพลงฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท อยู่ด้วย
 
หลังระบอบนาซีล่มสลายใน [[ค.ศ. 1945]] ฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท ได้กลายเป็นเพลงต้องห้าม ทั้งเนื้อร้องและทำนองเพลงดังกล่าวมิชอบด้วยกฎหมายทั้งใน[[ประเทศเยอรมนี]]และ[[ออสเตรีย]]จนทุกวันนี้ เว้นแต่ใช้เพลงเพื่อการศึกษาและวิชาการเท่านั้น
 
== เนื้อร้อง ==
บทร้องฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ของพรรคนาซีในกรุงเบอร์ลินชื่อ ''แดร์อันกริฟฟ์'' (Der Angriff) เมื่อเดือนกันยายน [[ค.ศ. 1929]] โดยลงนามผู้แต่งเพลงว่า ''พลเอ็สอานิรนาม'' (Der Unbekannte SA-Mann) มีใจความดังนี้
 
{|
เส้น 93 ⟶ 92:
คำว่า "แนวร่วมแดง" ({{lang-de|"Rotfront"}}) ในที่นี้อ้างอิงถึงหน่วย[[ร็อตฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์]] ({{lang-de|Rotfrontkämpferbund}}) หรือ "สันนิบาตนักรบแนวร่วมแดง" ซึ่งเป็นกำลังกึ่งทหารของ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]] (KPD) เป็นเรื่องปกติที่หน่วย[[ชตูร์มับไทลุง]] หรือเอ็สอา ของพรรคนาซีกับสันนิบาตนักรบแนวร่วมแดงจะเผชิญหน้าและสู้รบกันตามท้องถนนในเยอรมนีเวลานั้น ก่อนที่จะขยายวงกว้างเป็นการรบเต็มรูปแบบภายหลังปี [[ค.ศ. 1930]] ส่วนคำว่า "พวกปฏิกิริยา" ({{lang-de|"Reaktion"}}) หมายถึงพรรคการเมืองแนวอนุรักษนิยมและรัฐบาลเยอรมันแนวเสรีนิยมประชาธิไตยในยุค[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ซึ่งได้พยายามกดดันหน่วยเอ็สอาหลายครั้งแต่ล้มเหลว คำว่า "Die Knechtschaft" ซึ่งในที่นี้แปลว่า "ความเป็นทาส" หมายถึงภาระผูกพันของเยอรมนีตาม[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] [[ค.ศ. 1919]] ซึ่งพรรคนาซีมองว่าทำให้เยอรมนีอยู่ในภาวะ "ความเป็นทาส"
 
บทร้องบางส่วนได้มีการแก้ไขหลังการตายของฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล ดังนี้
 
{|
เส้น 132 ⟶ 131:
การแก้ไขคำว่า "Barrikaden" (แปลว่า ด่านกีดขวาง) สะท้อนให้เห็นถึงความปรารถนาของพรรคนาซีในช่วงปี ค.ศ. 1930 - 1933 ที่ต้องการแสดงว่าเป็นพรรคการเมืองภายใต้รัฐธรรมนูญที่ต้องการอำนาจรัฐโดยชอบด้วยกฎหมายมากกว่าเป็นพรรคปฏิวัติ
 
หลังมรณกรรมของเวสเซิลเว็สเซิล ได้มีการเพิ่มเติมเนื้อร้องบทใหม่ซึ่งประพันธ์ขึ้นเป็นเกียรติแก่เวสเซิลเว็สเซิล เนื้อร้องเหล่านี้เป็นที่นิยมร้องโดยหน่วยเอ็สอา แต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อร้องฉบับทางการซึ่งใช้โดยพรรคหรือรัฐ
 
{|
เส้น 148 ⟶ 147:
|
:เราขอเคารพ ท่านตายด้วยเกียรติสูงส่ง!
:ฮอสท์ เวสเซิลสิ้นเว็สเซิลสิ้น อีกนับพันจักเกิดก่อใหม่
:เพลงธงดังกังวาน นำทางกองทัพสีน้ำตาลไป
:เอ็สอาพร้อมใจ ติดตามแนวทางของท่าน
เส้น 159 ⟶ 158:
 
== ทำนอง ==
หลังเวสเซิลเสียชีวิตเว็สเซิลเสียชีวิต เขาได้รับการยกย่องอย่างเป็นทางการว่าเป็นผู้ประพันธ์ทั้งเนื้อร้องและทำนองเพลง "ฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท" อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปี ค.ศ. 1930 - 1933 ได้มีข้อวิจารณ์ถกเถียงเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว โดยชี้ว่าทำนองเพลงมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานกว่านั้น ตัวอย่างหนึ่งของเพลงที่มีทำนองคล้ายกับเพลงนี้มากก็คือเพลง "[[How Great Thou Art]]" ซึ่งเป็นเพลงสวดสรรเสริญพระเจ้า (hymn) อันเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป การวิจารณ์ฐานะความเป็นผู้ประพันธ์ของฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล ได้กลายเป็นความคิดต้งห้ามไปหลังปี ค.ศ. 1933 เมื่อพรรคนาซีได้เถลิงอำนาจปกครองเยอรมนี และการวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องนี้อาจทำให้ได้รับโทษหนัก
 
แหล่งที่มาที่น่าจะส่งผลโดยตรงต่อทำนองเพลงนี้มากที่สุดเป็นบทเพลงยอดนิยมใน[[ไคแซร์ลีเชอ มารีเนอ|จักรพรรดินาวีเยอรมัน]]สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งไม่ต้องสงสัยเลยว่าเวสเซิลเว็สเซิลจะเคยได้ยินเพลงดังกล่าวที่ขับร้องโดยอดียทหารเรือในกรุงเบอร์ลินช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1920 เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันตามวรรคเริ่มของเพลงที่ว่า ''Vorbei, vorbei, sind all die schönen Stunden,'' หรือในชื่อ ''Königsberg-Lied,'' ตามชื่อเรือลาดตระเวน "เคอร์นิกสแบร์ก" ซึ่งถูกกล่าวถึงในเนื้อร้องฉบับหนึ่งของเพลงนี้ บทเริ่มของเพลงดังกล่าวทั้งหมดมีใจความว่า
 
{|
เส้น 192 ⟶ 191:
|}
 
ในปี ค.ศ. 1936 [[อัลเฟรด ไวเดมันน์]] (Alfred Weidemann) นักวิจารณ์ดนตรีชาวเยอรมัน ได้ตีพิมพ์บทความซึ่งเขาได้ระบุว่าทำนองเพลงได้ประพันธ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1865 โดย [[ปีเตอร์ คอร์เนลิอุส]] ในฐานะ "Urmelodie" (source-melody, ทำนองเพลงต้นตอ).<ref>[http://www.nmz.de/artikel/wer-hat-denn-eigentlich-wen-erschossen "Wer hat denn eigentlich wen erschossen?"], ''neue musikzeitung'', 11/98 - 47th year</ref> ตามคำกล่าวของไวเดมันน์นั้น คอร์เนลิอุสได้ระบุเพลงนี้ว่าเป็น "ทำนองเพลงพื้นบ้านเวียนนา" ซึ่งสิ่งนี้ทำให้เขาสรุปว่านี่คือต้นตอแรกสุดของทำนองเพลง "ฮอสท์-เวสเซิลเว็สเซิล-ลีดลีท"<ref>Alfred Weidemann: ''Ein Vorläufer des Horst-Wessel-Liedes?'' In: ''Die Musik'' 28, 1936, S. 911f. Zitiert nach Wulf 1989, S. 270. ''Die Musik'' was published in Switzerland. Articles departing from the Nazi doctrine that Horst Wessel had originated both the lyrics and the tune could not be published in [[Nazi Germany]].</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 208 ⟶ 207:
[[หมวดหมู่:เพลงภาษาเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เยอรมนี]]
[[หมวดหมู่:ฮอสท์ เวสเซิลเว็สเซิล]]