ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไทยเชื้อสายเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บ่นอะไร
บรรทัด 19:
 
นอกจากนี้ยังมีกลุ่มชนอีกกลุ่มหนึ่งที่เรียกภาษาตัวเองว่า [[ภาษาเขมรลาวเดิม]] ในจังหวัดราชบุรี<ref>[http://province.prd.go.th/NaKhonNayok/line.html คนไทยเชื้อสายต่าง ๆ ในจังหวัดราชบุรี]</ref> ที่ตั้งถิ่นฐานในแถบ[[อำเภอเมืองราชบุรี]], [[อำเภอปากท่อ]], [[อำเภอวัดเพลง]] และ[[อำเภอบางแพ]]<ref name="เขมรลาวเดิม" /> โดยภาษานี้จะใกล้เคียงกับ[[ภาษาไทยถิ่นอีสาน|ภาษาไทยถิ่นอีสานตอนใต้]] และยังมีการใช้ภาษาเขมรปะปนอยู่ด้วย เชื่อกันว่าบรรพบุรุษของชาวเขมรลาวเดิมเป็นชาวลาวที่ถูกทัพเขมรกวาดต้อนไปเมืองเขมร เมื่อไทยได้ไปตีเขมรจึงได้กวาดต้อนชาวลาว และชาวเขมรปะปนกันมาด้วย<ref>[http://www.siamlocalnews.com/lukmuang/view.php?gid=569&newsid=794&issueid=312 เว็บไซต์หลักเมือง]</ref>
 
 
ภาพประกอบในที่นี้ เป็นการแต่งกายของชาวไทยเชื้อสายกูย ไม่ใช่การแต่งกายของชาวไทยเชื้อสายเขมร เป็นการนุ่งผ้าถุงที่มีลายเฉพาะของชาวกูย และเสื้อสีดำที่สวมใส่ คือเสื้อแซว เป็นเสื้อที่ทอด้วยมือ และย้อมด้วยมะเกลือให้เป็นสีดำ การเอาภาพของคนไทยเชื้อสายกูยมาประกอบทำให้สังคมสับสน หากไม่เข้าใจในวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายเขมรอย่างแท้จริง คนหยุดลงข้อมูลอันเป็นการบิดเบือน
 
ชาวไทยเชื้อสายเขมรมีมากที่สุดและเป็นชนกลุ่มใหญ่ที่สุดในจังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันไทยลาวและไทยกูยยังเป็นชาติพันธุ์ที่ต้องปรับเข้าหาเพื่อให้กลมกลืน ไม่ว่าจะเป็นการทานข้าวจ้าว ฟังเพลงกันตรึม และประเพณีการจัดบุญบั้งไฟในจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์ ซึ่งมีกลุ่มคนไทยเชื้อสายเขมรมากกว่าศรีสะเกษนั้น ไม่พบว่าชาวไทยเชื้อสายเขมรมีการจัดงานบุญบั้งไฟแต่อย่างใด
 
===การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม===
เส้น 29 ⟶ 24:
 
== ศาสนา ==
'''ชาวไทยเชื้อสายเขมร''' ส่วนใหญ่นับถือ[[พระพุทธศาสนา]][[นิกายเถรวาท]] ช่วงเข้าพรรษาจะมี''ประเพณีกันซง'' ซึ่งเป็นประเพณีการถือศีล นำอาหารไปทำบุญ ที่วัด 8 วัน หรือ 15 วัน นอกจากนั้นยังมีความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษ จะมีประเพณีไหว้บรรพบุรุษ เรียกว่า ประเพณีเบ็นหรืองาน ''แคเบ็น'' ซึ่งตรงกับสารทไทย ''พิธีมงก็วลจองได'' เป็นพิธีสู่ขวัญแบบพื้นบ้าน นิยมจัดในงานมงคล เช่น งานมงคลสมรส ขวัญนาค โกนจุก ยกเสาเอก ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น ''พิธีมอม็วด'' เป็นพิธีที่ทำเพื่อหาสาเหตุการเจ็บป่วย โดยผู้เข้าทรงจะเชิญวิญญาณมาเข้าสู่ร่าง และจะมีผู้คอยซักถามว่าเหตุใดถึงได้เจ็บป่วย นอกจากนั้นชาวไทยเชื้อสายเขมรยังเชื่อเรื่องโชคราง ของขลัง ฤกษ์ยามเครื่องราง ของขลังบางอย่างสามารถป้องกันภัยและรักษาโรคได้<ref name="นครปฐม" />
 
นอกจากพระพุทธศาสนาแล้ว ชาวไทยเชื้อสายเขมรบางส่วนก็นับถือ[[คริสต์ศาสนา]]อย่างเช่นในชุมชน[[วัดคอนเซ็ปชัญ]]<ref>[http://www.moohin.com/108tripsboon/108trips006c013.shtml วัดคอนเซ็ปชัญ กรุงเทพมหานคร]</ref> ในซอยมิตตคาม ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] ที่ได้กวาดต้อนชาวเขมรที่นับถือศาสนาคริสต์มาอาศัยอยู่ร่วมกับชุมชน[[ไทยเชื้อสายโปรตุเกส|ชาวไทยเชื้อสายโปรตุเกส]] ในช่วงรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] รัชกาลที่ 1 โดยได้ทำการกวาดต้อนมาประมาณ 500 คน โดยเป็นชาวโปรตุเกส 450 คน และชาวเขมรอีก 100 คน<ref name="วัดเขมร" /> โดยกลุ่มชาวเขมรที่นับถือศาสนาคริสต์ได้นำรูปสลัก[[พระแม่มารี]] หรือ พระแม่ขนมจีน หรือ พระแม่ตุ้งติ้ง มาด้วย ภายหลังมีการอัญเชิญรูปสลักนี้กลับกัมพูชา แต่ก็เกิดเหตุอัศจรรย์ทำให้ไปต่อไม่ได้ จึงนำกลับมาประดิษฐาน ณ วัดคอนเซ็ปชัญตามเดิม<ref>[http://www.catholic.or.th/archive/archbkk/church/church2/archbkk20.html วัดคอนเซ็ปชัญ]</ref> ด้วยเหตุที่มีชาวเขมรเข้ามาตั้งถิ่นฐานภายในชุมชน จึงทำให้วัดคอนเซ็ปชัญมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่ง คือ '''วัดเขมร'''<ref name="วัดเขมร">[http://immaculate-conception.spaces.live.com/blog/cns!39D03706063FDAC2!262.entry ประวัติวัดแม่พระปฏิสนธินิรมล (คอนเซ็ปชัญ)] เล่าเรื่องชุมชนและวัดคริสต์ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง</ref> โดยอาหารที่ขึ้นชื่อของชาวไทยเชื้อสายเขมรในวัดคอนเซ็ปชัญคือ หมูหัน