ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22:
ไตอยู่หลัง[[ช่องท้อง]]ใน[[retroperitoneum|หลังเยื่อบุช่องท้อง]] (retroperitoneum) ไตรับเลือดจากคู่[[หลอดเลือดแดงไต]] และเทเข้าสู่คู่[[หลอดเลือดดำไต]] ไตแต่ละข้างขับปัสสาวะสู่[[ท่อไต]] อันเป็นโครงสร้างคู่และเทเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
 
[[สรีรวิทยาไต]]เป็นการศึกษาการทำหน้าที่ของไต ขณะที่[[วักกวิทยา]] (nephrology) เป็นแพทยศาสตร์เฉพาะทางว่าด้วยโรคไต โรคของไตมีหลากหลาย แต่ผู้ที่มีโรคไตแสดงลักษณะพิเศษทางคลินิกบ่อยครั้ง ปัญหาทางคลินิกเกี่ยวกับไตที่พบบ่อย รวมถึง[[กลุ่มอาการไตอักเสบ]] (nephritic) และ[[กลุ่มอาการเนโฟรติก|เนโฟรติก]] (nephrotic) ถุงน้ำไต [[ไตบาดเจ็บเฉียบพลัน]] [[โรคไตเรื้อรัง]] [[การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ]] [[โรคนิ่วไต]] และการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ<ref name="robbins">{{cite book |author=Cotran, RS S.; Kumar, Vinay; Fausto, Nelson; Robbins, Stanley L.; Abbas, Abul K. |title=Robbins and Cotran pathologic basis of disease |publisher=Elsevier Saunders |location=St. Louis, MO |year=2005 |pages= |isbn=0-7216-0187-1 |oclc= |doi= |accessdate=}}</ref> มี[[มะเร็ง]]ของไตหลายอย่าง มะเร็งของไตในผู้ใหญ่ที่พบมากที่สุด คือ [[มะเร็งเซลล์ไต]] มะเร็ง ถุงน้ำและปัญหาของไตอื่นบางอย่างสามารถรักษาได้ด้วยการตัดไต เมื่อการทำหน้าที่ของไต ซึ่งวัดได้โดย[[อัตราการกรองของโกลเมอรูลัส]] (glomerular filtration rate) ต่ำอย่างต่อเนื่อง [[การแยกสารผ่านเยื่อ]]และการปลูกถ่ายไตอาจเป็นทางเลือกการรักษา นิ่วในไตปกติไม่เป็นอันตราย แต่อาจทำให้เกิดการปวด และการเกิดนิ่วซ้ำ ๆ เรื้อรังสามารถทำให้ไตเกิดแผลเป็น การนำนิ่วในไตออกเกี่ยวข้องกับการรักษาด้วยอัลตราซาวน์เพื่อสลายนิ่วเป็นชิ้นที่เล็กลง ซึ่งจะผ่านทางเดินปัสสาวะ กลุ่มอาการทั่วไปหนึ่งของนิ่วในไต คือ การปวดแปลบ (sharp) ถึงปวดจนรบกวนการใช้ชีวิต (disabling pain) ในตอนกลาง/ข้างของหลังส่วนล่างหรือหำ
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไต"