ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัคส์ แอ็นสท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
รูปแบบภาพตัดปะด้วยเทคนิคสื่อประสม คือการเปลี่ยนจากภาพประกอบนิยายราคาถูกแกะสลักไม้มาเป็นพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ เพื่อจะเอาชนะวิธีการแบบใหม่ของการคัดลอกงานด้วยวิธีการต่าง ๆ แอ็นสท์ได้เสนอความหลากหลายของการจัดองค์ประกอบศิลป์ การผสมผสานการปะติดในส่วนที่เกี่ยวกับลวดลายต้นแบบวัตถุจริง
 
====7. ทัศนียภาพจินตนิยม : เมือง และป่า (The Romantic Vision: Cities and Jungles), 1935–1938====
เทคนิคแกรททาจและภาพพิมพ์ถูนั้นปรากฏเด่นชัดเจนมากขึ้นด้วยลักษณะของลวดลายต้นแบบจากเครื่องจักสานที่นำไปแทนความหมายของป้อมปราการเมืองหรือบ้านเรือนที่ปรักหักพังลง รกร้างเนิ่นนานจนเถาวัลย์แทรกขึ้นปะปนดูเป็นส่วนเดียวกัน ภาพมุมมองเกี่ยวกับป่านั้นมีลักษณะพืชพันธุ์ไม้กลายร่างเป็นคน หรืออาจโดยนัยตรงกันข้ามว่า คนกลายร่างเป็นต้นไม้ มันคือหน่วยเดียวกันที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะเป็นสัมพันธภาพระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม อีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นเมืองบนภูเขาให้ความรู้สึกเกี่ยวกับสิ่งที่หักพังของเมืองแห่งความฝัน แอ็นสท์นำเอาความไม่สวยงาม ความผุพังเสื่อมโทรมมาสร้างให้เกิดคุณค่าและความหมายใหม่
 
====8. ยุโรปหลังฝน (Europe after the Rain), 1938–1942====