ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มังโยงานะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ZeroSixTwo ย้ายหน้า มันโยงะนะ ไปยัง มังโยงานะ: แก้ไขการทับศัพท์ญี่ปุ่นตามประกาศราชบัณฑิตยสภาฉบับใหม่
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการทับศัพท์ญี่ปุ่น
บรรทัด 9:
|fam4=[[Regular script]]
|sisters=[[คันจิ]]ร่วมสมัย
|children=ฮิรางะนะฮิรางานะ<br />คาตาคานะคาตากานะ
}}
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น|漢字}}
 
'''มันมังโยงะนะงานะ''' ({{ญี่ปุ่น|万葉仮名|Man'yōgana}}) เป็น[[ระบบการเขียน]]ในสมัยโบราณของ[[ภาษาญี่ปุ่น]]โดย[[อักษรจีน]]หรือ[[คันจิ]] ช่วงเวลาที่เริ่มใช้ระบบการเขียนนี้ไม่ทราบแน่ชัด แต่ประมาณกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 7]] ชื่อ "มันมังโยงะนะงานะ" นี้ ได้จากชื่อหนังสือ “[[มังโยชู|มันโยชู]]” ({{ญี่ปุ่น|万葉集|Man'yōshū}}) อันเป็น[[วรรณกรรม]]รวมบทกวีใน[[ยุคนาระ]]ที่เขียนด้วยระบบมันมังโยงะนะงานะ
 
==ประวัติ==
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏอักษรมันมังโยงะงานะที่เก่าแก่ที่สุด คือ [[ดาบอินาริยามะ]] ซึ่งเป็นดาบเหล็กที่ขุดค้นพบที่สุสานโบราณ[[อินาริยามาโกฟุง]] [[จังหวัดไซตามะ]] เมื่อ [[พ.ศ. 2511]] และ 10 ปีหลังการขุดพบ ใน [[พ.ศ. 2521]] ได้มีการวิเคาระห์ดาบเล่มนี้โดยการเอกซเรย์ จนพบตัว[[อักษรจีน]]สลักด้วย[[ทอง]]จำนวน 115 ตัว ซึ่งเขียนเป็นมันมังโยงะนะงานะ สันนิษฐานว่าดาบเล่มนี้ถูกตีขึ้นในปี 辛亥年 เทียบเท่ากับ [[พ.ศ. 1041]]
 
==หลักการเขียน==
มังโยงานะจะใช้หลักการนำตัว[[อักษรจีน]]ที่มีเสียงใกล้เคียงเสียง[[ภาษาญี่ปุ่น]]ของคำที่จะเขียน โดยไม่คำนึงถึงความหมายของอักษรจีนตัวนั้น หรือเรียกว่า "ชะคุชากูอง" ({{ญี่ปุ่น|借音 ''|shakuon'' |ยืมเสียง}}) เนื่องจากมีอักษรจีนหลายตัวที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน การเลือกว่าจะใช้อักษรจีนตัวใดสำนวนภาษาของผู้เขียน เห็นได้จากหนังสือ “[[มังโยชู|มันโยชู]]” บทที่ 17/4025 ซึ่งเขียนไว้ดังนี้
 
{| class="wikitable"
|-
! มันมังโยงะนะงานะ
| 之乎路可良 || 多太古要久礼婆 || 波久比能海 || 安佐奈藝思多理 || 船梶母我毛
|-
! คาตากานะ
! คาตาคานะ
| シヲヂカラ || タダコエクレバ || ハクヒノウミ || アサナギシタリ || フネカヂモガモ
|-
บรรทัด 32:
| 志雄路から || ただ越え来れば || 羽咋の海 || 朝凪したり || 船梶もがも
|-
! [[โรมะมาจิ]]
| Shioji kara || Tadakoe kureba || Hakuhi no umi || Asanagi shitari || Funekaji mogamo
|}
บรรทัด 38:
จากตัวอย่างด้านบน เสียง ''mo'' (母, 毛) และ ''shi'' (之, 思) เขียนด้วย[[อักษรจีน]]ได้หลายตัว และในขณะที่คำส่วนมากเขียนโดยถอดเสียงเป็น[[พยางค์]] ๆ โดยไม่คำนึงถึงความหมาย (เช่น 多太 ''tada'' และ 安佐 ''asa'' เป็นต้น) แต่คำว่า ''umi'' (海) และ ''funekaji'' (船梶) เป็นการเขียนโดยใช้ความหมายของอักษรจีนตัวนั้น ไม่ใช้การถอดเสียง
 
เสียงภาษาญี่ปุ่นบางพยางค์จะถูกแทนด้วย[[อักษรจีน]]ที่กำหนดเอาไว้เป็น[[กฎการสะกดคำ]] (orthographic) ใน[[ยุคนาระ]] ที่เรียกว่า "[[โจได โทโจไดโตกูชุ คานาชูกานาซูไก]]" ({{ญี่ปุ่น|上代特殊仮名遣 ''|Jōdai Tokushu Kanazukai''}}) ซึ่งช่วยให้ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ภาษาสรุปได้ว่า เสียงใน[[ภาษาญี่ปุ่นยุคเก่า]]ซึ่งแทนด้วยอักษรมันมังโยงะนะนั้นงานะนั้น อาจเริ่มมีมาตรฐานตั้งแต่ในครั้งนั้นเป็นต้นมา
 
==ประเภท==
สำหรับมันมังโยงะนะงานะ มีวิธีจับคู่ตัว[[อักษรจีน]]กับเสียง[[ภาษาญี่ปุ่น]]อยู่หลายวิธี
 
* '''ชะคุองคานะชากูองกานะ''' ({{ญี่ปุ่น|借音仮名|Shakuon -kana}}) แปลตามตัวอักษรได้ว่า อักษรยืมเสียง หลักการคล้ายกับ "เสียงอง" ของ[[คันจิ]] คือ การออกเสียงคันจิของตัวนั้นตามเสียง[[ภาษาจีน]] อักษรจีนหนึ่งตัว อ่านออกเสียงได้ทั้ง[[พยางค์]]เดียว และสองพยางค์
 
{| class="wikitable"
|+ชะคุองคานะชากูองกานะ (借音仮名)
! จำนวนพยางค์ !! อักษรเดียวสมบูรณ์ !! อักษรเดียวบางส่วน
|-
บรรทัด 54:
|}
 
* '''ชักคุนคานะกุงกานะ''' ({{ญี่ปุ่น|借訓仮名|Shakkun -kana}}) แปลตามตัวอักษรได้ว่า อักษรยืมความหมาย หลักการคล้ายกับ "เสียงคุน" ของ[[คันจิ]] คือ การออกเสียงคันจิในภาษาญี่ปุ่นตามความหมายของคันจิตัวนั้น
 
{| class="wikitable"
|+ชักคุนคานะกุงกานะ (借訓仮名)
! จำนวนพยางค์ !! อักษรเดียวสมบูรณ์ !! อักษรเดียวบางส่วน !! อักษร 2 ตัว !! อักษร 3 ตัว
|-
บรรทัด 68:
 
{| class="wikitable"
|+ตารางมันมังโยงะนะงานะ<br><small>อักษร 1 ตัวแทน 1 พยางค์</small>
|
!width="7%" title="vowel"| –
บรรทัด 192:
 
==พัฒนาการ==
[[ไฟล์:Hiragana_origin.svg|thumb|400px|right|[[ฮิรางานะ]]และมันมังโยงะงานะแม่แบบ]]
[[ไฟล์:Katakana_origine.svg|thumb|400px|right|[[คาตากานะ|คาตาคานะคาตากานะ]]และมันมังโยงะงานะแม่แบบ]]
 
อักษร[[คันจิ]]ในระบบมังโยงานะ ต่อมาได้พัฒนาไปเป็นอักษร[[ฮิรางานะ]]และ[[คาตากานะ]]
 
อักษรฮิรางานะดัดแปลงมาจากอักษรมันมังโยงะงานะที่เขียนด้วยพู่กันในรูปแบบ[[อักษรหวัด]] วัตถุประสงค์เดิมของอักษรฮิรางานะ คือ เพื่อให้สตรีซึ่งสังคมไม่ยอมได้ให้รับการศึกษาสูง ได้อ่านออกเขียนได้ [[วรรณกรรม]]ใน[[ยุคเฮอัง]]ส่วนใหญ่ที่ผู้แต่งเป็นสตรีถูกเขียนด้วยอักษรฮิรางานะ
 
ส่วนอักษรคาตาคานะคาตากานะก็ดัดแปลงมาจากอักษรมันมังโยงะงานะเช่นกัน แต่ตัดเฉพาะบางส่วนของอักษรมันมังโยงะงานะมาเป็นอักษรคาตาคานะคาตากานะหนึ่งตัว อักษรคาตาคานะคาตากานะกำเนิดใน[[สำนักสงฆ์]][[ยุคเฮอัง|ยุคเฮอัน]] ใช้เสมือนการย่ออักษรมันมังโยงะงานะเพื่อให้ง่ายต่อพระสงฆ์ในการศึกษาพระคัมภีร์
 
ตัวอย่างเช่น เสียง ''ru'' เขียนเป็นอักษรฮิรางานะว่า る ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมันมังโยงะนะงานะ 留 แต่เขียนเป็นอักษรคาตากานะว่า ル ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมันมังโยงะนะงานะ 流 โดยอักษรมังโยงานะใช้เขียนแทนเสียง ''ru'' ทั้งคู่
 
การที่เสียง[[ภาษาญี่ปุ่น]]หนึ่ง[[พยางค์]]สามารถเขียนด้วยอักษร[[คันจิ]]หลายตัวนั้น ทำให้เกิดอักษร[[เฮ็นไตงานะ]] ({{ญี่ปุ่น|変体仮名 ''|hentaigana''}}) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรฮิรางานะขึ้นมา แต่ได้ถูกเลิกใช้อย่างเป็นทางการไปใน [[พ.ศ. 2443]]
 
ปัจจุบัน อักษรมันมังโยงะงานะยังคงปรากฏอยู่ในชื่อสถานที่ต่าง ๆ ของ[[ญี่ปุ่น]] โดยเฉพาะบน[[เกาะคีวชู]] การใช้อักษร[[คันจิ]]อีกประเภทที่มีลักษณะคล้ายกับมันมังโยงะนะคืองานะคือ[[อาเตจิ]] (当て字, 宛字 ''ateji'') ซึ่งเป็นการเขียน[[คำยืม]]จากภาษาต่างประเทศ โดยใช้แทนเสียงมากกว่าความหมาย ตัวอย่างเช่น 倶楽部 (''kurabu'' คลับ) และ 珈琲 (''kōhii'' กาแฟ) เป็นต้น ปัจจุบันนี้ยังคงมีใช้กันอยู่ในป้ายร้านค้า
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==