ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
| battles = [[สงครามโลกครั้งที่ 2]]
|ceremonial_chief = [[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]]
| notable_commanders = {{unbulleted list | [[Seppเซพพ์ Dietrichดีทริซ]] | [[Paulเพาล์ Hausserเฮาส์เซอร์]] | [[เฟลิกซ์ ชไตเนอร์]] }}
| anniversaries =
}}
'''วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส''' ({{Lang-de|Waffen-SS}}) เป็นหน่วยกองกำลังทหารติดอาวุธของ[[พรรคนาซี]]ในหน่วยองค์กร[[ชุทซ์ชทัฟเฟิล]]หรือ'''หน่วยเอ็สเอ็ส''' เป็นถูกก่อตั้งจากการรวมตัวกันของคนใน[[นาซีเยอรมนี]] พร้อมทั้งกับอาสาสมัครและทหารเกณฑ์จากทั้งสองดินแดนคือดินแดนที่ถูกยึดครองและดินแดนที่ไม่ถูกยึดครองซึ่งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สเป็นหน่วยกองกำลังรบพิเศษที่จะปฏิบัติการรบร่วมกันกับกองทัพบก{{sfn|Stein|2002|pp=xxiv, ([[เฮร์]])xxv, ของ[[เวร์มัคท์]]ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง|สงครามโลกครั้งที่ 2]]150, 153}}
 
หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สเติบโตขึ้นจากสามกรมทหารไปยังทั้งหมด 38 กองพลในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] และทำหน้าที่ควบคู่กับ[[กองทัพบกเยอรมัน (แวร์มัคท์)|เฮร์]](ประจำการในกองทัพบก), [[ออร์ดนุงโพลีไซ]](ตำรวจเครื่องแบบ) และหน่วยรักษาความปลอดภัยอื่นๆ แต่เดิมที,อยู่ภายใต้การควบคุมของสำนักงานบัญชาการปฏิบัติการ-เอ็สเอ็ส (SS Führungshauptamt) ภายใต้การบังคับบัญชาของ[[ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส]] [[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]], ด้วยจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง การควบคุมทางยุทธวิธีได้ถูกซักซ้อมโดย[[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์]](OKW),{{sfn|Stein|2002|p=23}} กับหน่วยบางส่วนที่ภายใต้บังคับบัญชาของ[[กองบัญชาการบุคลากรไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส]] (Kommandostab Reichsführer-SS) ภายใต้การบังคับบัญชาของฮิมเลอร์โดยตรง<ref>''The Nazi Holocaust. Part 3: The "Final Solution": The Implementation of Mass Murder.'' Volume 2, p. 459, [[De Gruyter]], 1989</ref>
วัฟเฟิน-เอ็สเอ็สนั้นถูกตั้งขึ้นเพื่อเป็นหน่วยกองกำลังองครักษ์พิทักษ์[[ฟือเรอร์]] [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] และถูกฝึกฝนมาอย่างหนักจนกลายเป็นกองกำลังรบระดับชั้นหัวกะทิเพื่อใช้เป็นเครื่องจักรสงครามในการยึดครองทวีปยุโรปตามเจตนารมณ์ของฮิตเลอร์และพรรคนาซี ฮิตเลอร์ได้มอบความไว้วางใจให้กับวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สมากที่สุดว่าเป็นหน่วยกองกำลังรบที่มีประสิทธิภาพในการรบมากที่สุด สามารถแก้ไขต่างๆได้ทุกสถานการณ์
 
ในช่วงแรก, ในความสอดคล้องกับนโยบายทางเชื้อชาติของนาซีเยอรมนี การจะเป็นสมาชิกนั้นได้เปิดรับสมัครให้กับเพียงชนเชื้อชาติเจอร์แมนิกเท่านั้น (ที่ถูกเรียกว่า เชื้อชาติอารยัน){{sfn|Stackelberg|2002|p=116}} กฏข้อบังคับได้ผ่อนผันเพียงบางส่วนในปี ค.ศ. 1940{{sfn|Langer|Rudowski|2008|p=263}}{{sfn|Król|2006|pp=452, 545}} และต่อมาได้ก่อตั้งหน่วยขึ้นที่ประกอบด้วยส่วนใหญ่หรือเพียงอย่างเดียวของอาสาสมัครชาวต่างชาติและการเกณฑ์ทหารที่ได้รับการอนุมัติ หน่วยเอ็สเอ็สเหล่านี้จะประกอบไปด้วยชายส่วนใหญ่ที่มาจากกลุ่มเชื้อชาติของยุโรปที่ถูกนาซียึดครอง อย่างไรก็ตามการผ่อนผันของกฏข้อบังคับ หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สยังคงยึดติดอยู่กับอุดมการณ์ทางเชื้อของลัทธินาซีและชนเชื้อชาติโปล (ที่ถูกมองว่าเป็นพวกต่ำกว่ามนุษย์) ได้ถูกห้ามอย่างยิ่งจากการก่อตั้ง<ref>W. Borodziej, Ruch oporu w Polsce w świetle tajnych akt niemieckich, Część IX, Kierunki 1985, nr 16.</ref><ref>Polska i Polacy w propagandzie narodowego socjalizmu w Niemczech 1919-1945 Eugeniusz Cezary Król Instytut Studiów Politycznych Polskiej Akademii Nauk, 2006, page 452</ref><ref>Terror i polityka: policja niemiecka a polski ruch oporu w GG 1939-1944 Włodzimierz Borodziej Instytut Wydawniczy Pax, 1985, p. 86.</ref>
ในช่วงแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สขึ้นชื่อว่าเป็นกองกำลังปีศาจเพราะเนื่องจากได้รับถูกปลูกฝังความคิดและอุดมการณ์นาซีจนกลายเป็นความคลั่งไคลทำให้ก่ออาชญากรรมสงครามมากมาย เช่น การสังหารหมู่เชลยศึกสงครามและพลเรือน การกวาดต้อนชาวยิวและอื่นๆในเขตปกครองของนาซีเยอรมันเข้าไปยัง[[ค่ายกักกันนาซี]] เป็นต้น แต่ในช่วงปลายสงครามในปี ค.ศ. 1943–1944 ด้วยการรบที่ยืดเยื้อทั้ง[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบตะวันตก]]และ[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|ตะวันออก]] ทำให้หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สสูญเสียกองกำลังไปจำนวนมากจนต้องหากำลังทดแทนแต่กลับไร้ประสิทธิภาพเพราะด้วยกองกำลัง[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|สัมพันธมิตร]]รุกเข้ามาประชิดอย่างรวดเร็วทำให้ต้องฝึกในระยะเวลาสั้นๆ แต่อย่างไรก็ตามนาซีเยอรมนีต้องประสบปราชัยและล่มสลายในปี ค.ศ. 1945 สัมพันธมิตรได้ดำเนินการพิจารณาคดีกับคนในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สจำนวนมากในข้อหาอาชญากรสงครามและมนุษยชาติซึ่งมีส่วนร่วมใน[[ฮอโลคอสต์]]หรือการสังหารหมู่ชาวยิวและอื่น ๆ ซึ่งมีจำนวนหนึ่งที่ถูกตัดสินประหารชีวิตและบางส่วนถูกตัดสินจำคุกพร้อมกับถูกตัดสิทธิ์การเป็นทหารผ่านศึก ด้วยนโยบายการขจัดความเป็นนาซี หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สถูกยุบและถูกกฎหมายต้องห้ามในเยอรมนี เช่นเดียวกับพรรคนาซีและ[[ชุทซ์ชทัฟเฟิล]] โดยถูกระบุว่าเป็นองค์กรอาชญากรรม
 
สมาชิกของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับความโหดร้ายทารุณเอาไว้มากมาย<ref>"Waffen-SS: Mračne sile zločinačke politike - Vojnici nacionalsocijalizma 1933.-45." ("Waffen-SS: The Dark Forces Of Villain Politics - The Soldiers Of Nationalsocialism 1933-45"), p 9, Hrvoje Spajić, 2010.</ref> ที่[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค]]ในช่วงหลังสงคราม หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สได้ถูกตัดสินว่าเป็นองค์กรอาชญากรรม เนื่องจากมีส่วนเกี่ยวข้องกับพรรคนาซีและเกี่ยวข้องโดยตรงกับอาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติจำนวนมากมาย อดีตสมาชิกหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สได้ถูกปฏิเสธสิทธิหลายประการที่จะมอบให้แก่ทหารผ่านศึก ข้อยกเว้นที่ทำให้ไว้กับทหารเกณฑ์จากหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส ที่ได้รับการยกเว้นนั้นเพราะพวกเขาไม่ได้อาสาสมัครเลย<ref>{{cite |title=Two Hundred And Seventeenth Day |work=Nuremberg Trial Proceedings |url=http://avalon.law.yale.edu/imt/09-30-46.asp |volume=Volume 22 |date= September 1946 |via=Avalon Project }}</ref><ref name=laar2>{{cite book |pages=32–59|chapter=Battles in Estonia in 1944|title=Estonia in World War II |last=Laar |first=Mart |year=2005 |publisher=Grenamder| authorlink=Mart Laar|location=Tallinn}}</ref> มีจำนวนประมาณหนึ่งในสามของสมาชิกทั้งหมดล้วนถูกเกณฑ์<ref>{{cite book|last1=McDonald|first1=Gabrielle Kirk|last2=Swaak-Goldman|first2=Olivia|title=Substantive and Procedural Aspects of International Criminal Law: The Experience of International and National Courts: Materials|url=https://books.google.com/books?id=ZzYznOEiZmcC&pg=PA695|year=2000|publisher=BRILL|page=695}}</ref>
 
==จุดถือกำเนิด(ค.ศ. 1929-39)==
[[File:Bundesarchiv Bild 119-01-03, Berlin, Parade zum dritten Jahrestag LSSHA crop.jpg|thumb|left|การสวนสนามจากวันครบรอบปีที่สามของ [[กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์|LSSAH]] ในบริเวณค่ายทหาร. [[เซพพ์ ดีทริซ]]ที่อยู่ในแท่นพิธี. พฤษภาคม ค.ศ. 1935]]
 
จุดถือกำเนิดของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สได้สืบย้อนไปถึงการคัดเลือกกลุ่มของคนหน่วยเอ็สเอ็ส 120 คน เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1933 โดย[[เซพพ์ ดีทริซ]] เพื่อก่อตั้ง Sonderkommando เบอร์ลิน{{sfn|Flaherty|2004|p=144}} ช่วงเดือนพฤศจิายน ค.ศ. 1933 การก่อตั้งขึ้นได้มีจำนวน 800 คน และที่พิธีฉลองในมิวนิกสำหรับวันครบรอบสิบปีจากความล้มเหลวของ[[กบฏโรงเบียร์]]ในมิวนิก กรมทหารเหล่านี้ได้กล่าวคำสัตย์สาบานว่าจะจงรักภักดีต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ คำสัตย์สาบานคือ"ปฏิญาณว่าจะจงรักภักดีต่อเขาแต่เพียงผู้เดียว"และ"จะเชื่อฟังแม้กระทั่งความตาย"{{sfn|Flaherty|2004|p=144}} การก่อตั้งหน่วยทหารนี้ได้ถูกแต่งตั้งชื่อเป็นไลบ์ชตันดาร์เทอ (กรมทหารคุ้มกัน) อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (LAH){{sfn|Cook|Bender|1994|pp=17, 19}} เมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1934 โดยคำสั่งของฮิมเลอร์ กรมทหารนี้ได้กลายเป็นที่รู้จักกันคือ [[กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์|ไลบ์ชตันดาร์เทอเอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] (LSSAH){{sfn|Cook|Bender|1994|pp=17, 19}}
 
ไลบ์ชตันดาร์เทอได้แสดงความจงรักภักดีต่อฮิตเลอร์ในปี ค.ศ. 1934 ในช่วง"[[คืนมีดยาว]]" เมื่อระบอบนาซีได้ดำเนินการชุดการสังหารทางการเมืองและกวาดล้างหน่วย[[ชตูร์มับไทลุง]] (SA){{sfn|Flaherty|2004|p=144}} นำโดยหนึ่งในสหายที่เก่าแก่ที่สุดของฮิตเลอร์ [[แอนสท์ เริม]] หน่วยเอ็สเอได้ถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามโดยฮิตเลอร์ต่ออำนาจทางการเมืองที่เพิ่งได้รับมา ฮิตเลอร์ยังคงต้องการที่จะผูกมิตรกับผู้นำของ[[ไรชส์แวร์]] (กองทัพแห่งสาธารณรัฐ) และฝ่ายอนุรักษ์นิยมของประเทศ, ประชาชนที่ให้การสนับสนุน ฮิตเลอร์มีความจำเป็นเพื่อความมั่งคงต่อตำแหน่งของเขา เมื่อฮิตเลอร์ได้ตัดสินใจที่จะเป็นฝ่ายปรปักษ์ต่อหน่วยเอ็สเอ หน่วยเอ็สเอ็สได้รับหน้าที่ในการกำจัดเริมและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของหน่วยเอ็สเอคนอื่นๆ{{sfn|Kershaw|2008|pp=306–313}} คืนมีดยาวได้อุบัติขึ้นระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน ถึง 2 กรกฏาคม ค.ศ. 1934 และแสดงให้เห็นว่ามีการสังหารผู้คนไปถึงกว่า 200 คน นี้ยังรวมไปถึงผู้นำของหน่วยเอ็สเอเกือบทั้งหมด, ได้สิ้นอำนาจอย่างสมบูรณ์ การปฏิบัติการนี้ส่วนใหญ่ได้ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่หน่วยเอ็สเอ็ส (รวมทั้งไลบ์ชตันดาร์เทอ) และ[[เกสตาโพ]]{{sfn|Kershaw|2008|pp=309–313}}
 
ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1934 ฮิตเลอร์ได้อนุมัติให้ก่อตั้งกองกำลังปีกของพรรคนาซีและอนุมัติให้ก่อตั้งหน่วย[[เอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์]] (SS-VT) ทหารที่ทำหน้าที่พิเศษภายใต้บัญชาการโดยรวมของฮิตเลอร์{{sfn|Flaherty|2004|p=144}} หน่วยเอ็สเอ็ส-วีทีได้ขึ้นต่อกองทัพเยอรมันสำหรับการจัดหาอาวุธและการฝึกซ้อมทหาร และพวกเขาได้ควบคุมระบบการสรรหาผ่านคณะกรรมการท้องถิ่นที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการกำหนดเกณฑ์ทหารไปยังสาขาต่างๆของกองทัพ[[แวร์มัคท์]]เพื่อให้ได้เป้าโควต้าที่ถูกกำหนดไว้โดย[[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์|กองบัญชาการใหญ่แห่งกองทัพเยอรมัน]] (Oberkommando der Wehrmacht หรือ OKW ในเยอรมนี) หน่วยเอ็สเอ็สได้รับความสำคัญน้อยมากสำหรับการรับสมัคร{{sfn|Flaherty|2004|p=145}}
 
แม้ว่าจะมีปัญหาที่นำเสนอโดยระบบโควต้า ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ได้ก่อตั้งกรมทหารเอ็สเอ็สสองหน่วยขึ้นมาใหม่คือ "เอ็สเอ็ส เจอร์มาเนีย"และ"เอ็สเอ็ส ด็อยท์ลันด์" ซึ่งร่วมกับไลบ์ชตันดาร์เทอและการสื่อสารหน่วยที่ทำขึ้นในหน่วยเอ็สเอ็ส-วีที{{sfn|Flaherty|2004|p=145}} ในขณะเดียวกัน ฮิมเลอร์ได้สร้าง SS-Junkerschule Bad Tölz และ SS-Junkerschule [[เบราน์ชไวค์]]สำหรับการฝึกทหารของเจ้าหน้าที่เอ็สเอ็ส{{sfn|Flaherty|2004|p=145}} โรงเรียนทั้งสองได้ใช้วิธีการฝึกจากการประจำกองทัพและส่วนใหญ่ได้ใช้อดีตเจ้าหน้าที่นายทหารในกองทัพเป็นผู้ฝึก{{sfn|Flaherty|2004|p=145}}
 
{{โครงส่วน}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
*Ailsby, Christopher (2004). Hitler's Renegades: Foreign Nationals in the Service of the Third Reich. Brasseys. ISBN 1-57488-838-2.
*Association of Soldiers of the Former Waffen SS (2003) [1973]. Wenn Alle Brűder Schweigen. Coburg: Nation Europa Verlag GmbH. ISBN 3-920677-06-4.
*"Battle of the Buldge". Retrieved 2 June 2013.
*Beevor, Antony (2002). Berlin: The Downfall 1945. Viking-Penguin Books. ISBN 978-0-670-03041-5.
*Bell, Bowyer J (1966). Besieged: Seven Cities Under Siege. Chilton.
*Bercuson, David (2004) [1996]. Maple Leaf Against the Axis. Red Deer Press. ISBN 0-88995-305-8.
*Bergstrom, Christopher (2007). Kursk – The Air Battle: July 1943. Chervron/Ian Allen. ISBN 978-1-903223-88-8.
*Bishop, Chris; Williams, Michael (2003). SS: Hell on the Western Front. St Paul, Minn: MBI Publishing. ISBN 978-0-7603-1402-9.
*Browning, Christopher (2007). The Origins of the Final Solution: The Evolution of Nazi Jewish Policy, September 1939 – March 1942. University of Nebraska Press. ISBN 0-8032-5979-4.
*Butler, Rupert (2001). SS-Leibstandarte: The History of the First SS Division, 1934–45. Spellmount.
 
{{ชุทซ์ชทัฟเฟิล}}