ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีเตอร์ ดรักเกอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
}}
 
'''ปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์ ดรักเกอร์''' ({{lang-en|Peter Ferdinand Drucker}}) เป็นทั้งนักเขียน ที่ปรึกษาด้านการจัดการ และเป็นผู้บรรยายด้าน "นักนิเวศน์นิเวศสังคม"<ref>Drucker, Peter F., “Reflections of a Social Ecologist,” ''Society'', May/June 1992</ref> หนังสือของเขาเป็นแนวทางและแหล่งค้นคว้าด้านมนุษย์ที่จัดตั้งธุรกิจ, องค์กร, รัฐบาล และหน่วยงานไม่แสวงหาผลกำไรเพื่อสังคม<ref>[http://www.druckerinstitute.com/about-peter-drucker.html Drucker Institute - ''About Peter Drucker'']</ref> งานเขียนของเขาได้ทำนายถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในช่วงปลายศตวรรษที่ยี่สิบ รวมทั้งความเป็นเอกชน และการกระจายอำนาจ, ความรุ่งโรจน์ของญี่ปุ่นที่จะเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจในยุคนั้น, ความเห็นทางการตลาดที่สำคัญ ความเร่งด่วนของสังคมข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต<ref name="bw2005">{{cite web|url=http://www.businessweek.com/magazine/content/05_48/b3961001.htm|title=The Man Who Invented Management|work=BusinessWeek|accessdate=2005-11-28}}</ref> ใน ค.ศ. 1959 ดรักเกอร์ได้ให้ความสำคัญต่อ "การเรียนรู้ของคนงาน" และช่วงปลายชีวิต เขาได้พิจารณาอย่างถี่ถ้วนถึง "ความรู้ด้านการผลิตผลงาน" อันเป็นขอบเขตของความรู้ด้านการจัดการด้วยเช่นกัน โดยแนวคิดต่างๆของเขายังไม่ล้าสมัยและเป็นประโยชน์ต่อนักธุรกิจมายาวนานหลายทศวรรษ<ref>Drucker, Peter F., ''Concept of the Corporation'', Preface to the 1983 edition, p. xvii, (1983) </ref>
 
== ชีวประวัติและปรัชญา ==