ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พินิจ จารุสมบัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
 
}}
'''นายพินิจ จารุสมบัติ''' กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/180/1.PDF</ref> อดีต[[รองนายกรัฐมนตรีไทย|รองนายกรัฐมนตรี]] อดีตหัวหน้า[[พรรคเสรีธรรม]] เคยร่วมต่อสู้กับ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย]] ช่วงหลัง[[เหตุการณ์ 6 ตุลา|เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519]] โดยใช้ชื่อจัดตั้งว่า '''สหายพนัส'''<ref>หน้า 3, ''โหมงาน''. " "เทียบท่าหน้า 3" ทีมข่าวการเมือง โดย ประเมศ เหล็กเพ็ชร์. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 67 ฉบับที่ 21428: วันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2559 แรม 5 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก</ref> ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มวังพญานาค [[พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน]]
 
== ประวัติ ==
นายพินิจ จารุสมบัติ เกิดเมื่อวันที่ {{วันเกิดและอายุ|2494|10|13}} ที่[[จังหวัดฉะเชิงเทรา]] เรียนชั้นประถมที่ "โรงเรียนวัดกระทุ่ม" อ.บ้านโพธิ์ แถวบ้าน พอชั้นมัธยมจึงย้ายไปที่ "เซนต์หลุยส์" โรงเรียนในตัวเมืองแปดริ้ว สำเร็จการศึกษาจาก[[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง|คณะนิติศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
 
ในปี พ.ศ. 2515 ระหว่างกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้ร่วมจัดตั้งกลุ่มพระร่วง และได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง แต่ได้ทำหน้าที่บริหารงานเพียง 15 วัน ก็ได้รับคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากกระทำการอันไม่เหมาะสม คือ การทำหนังสือขอความเป็นธรรมให้อาจารย์ที่ถูกสั่งให้ออก
บรรทัด 43:
 
== การเมือง ==
นายพินิจ จารุสมบัติ ได้รับการเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย]] เมื่อปี พ.ศ. 2535 สังกัด[[พรรคสามัคคีธรรม]] ต่อมาภายหลัง[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]] จึงได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งพรรคเสรีธรรม ร่วมกับ ดร.[[อาทิตย์ อุไรรัตน์]] หัวหน้าพรรค และนายพินิจ จารุสมบัติ ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าพรรคเสรีธรรม ในระหว่างปี พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2543 หลังจากนั้นจึงย้ายมาสังกัด[[พรรคไทยรักไทย]] ในปี พ.ศ. 2544 และได้รับตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย
 
ในการทำงานการเมืองยังได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีหลายตำแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/044/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๙ ราย)]</ref> กระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และรองนายกรัฐมนตรี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00154678.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี]</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549]]<ref>[http://www.moneychannel.co.th/Menu6/BreakingNews/tabid/98/newsid533/22585/Default.aspx เปิดรายชื่อ ทั้ง 111 กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นระยะเวลา 5 ปี !!!]</ref>
บรรทัด 49:
=== หลังการถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง ===
ในการจัดตั้งของรัฐบาลซึ่งนำโดยพรรคประชาธิปัตย์ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2551 นายพินิจ จารุสมบัติ เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการนำสมาชิกในกลุ่มวังพญานาค [[พรรคเพื่อแผ่นดิน]] ให้การสนับสนุนนาย[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นหนึ่งในสามบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ ในนาม "3พี" ([[ไพโรจน์ สุวรรณฉวี]] พินิจ จารุสมบัติ และ[[ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ]]) <ref>[http://www.tnews.co.th/html/read_headnews.php?hilight_id=368 อนาคต “ 3 พี” ... สลาย “พผ.” เข้าร่วมรัฐบาล !!!]</ref> กระทั่งในปี พ.ศ. 2554 จึงได้เข้าร่วมกับ[[สุวัจน์ ลิปตพัลลภ]] ในการสนับสนุน[[พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน]]<ref>[http://www.chaoprayanews.com/2011/04/07/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1/ “เพื่อแผ่นดิน” จับมือ “รวมชาติพัฒนา” ภายใต้ชื่อ “พรรครวมชาติเพื่อแผ่นดิน”]</ref>
 
== รางวัลและเกียรติยศ ==
* พ.ศ. 2541 รับพระราชทานยศ[[กองอาสารักษาดินแดน]]เป็น นายกองเอก พินิจ จารุสมบัติ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/B/017/7.PDF</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==