ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดบาหลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไขตามสากลไต้หวันเอามาไหน
บรรทัด 79:
=== ยุคเริ่มต้น ===
[[ไฟล์:Gunung Kawi temple.jpg|200px|thumb|หินสลักบริเวณภูเขากุนุง คาวี]]
บาหลีเป็นถิ่นที่อยู่ของชนเผ่าออสโตรนีเชียน (Austronesian) ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมบนเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ[[ไต้หวันโอเชียเนีย]] โดยใช้เส้นทางทางทะเลเดินเรือผ่านภูมิภาค[[เอเซียเอเชียยตะวันออกเฉียงใต้]] เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล<ref>Hinzler, Heidi. (1995). Artifacts and early foreign influences. In Eric Oey (Ed.), ''Bali'' (pp. 24-25). Singapore: Periplus Editions. ISBN 962-593-028-0. </ref><ref>Taylor, Jean Gelman. (2003). ''Indonesia: Peoples and histories''. New Haven and London: Yale University Press. ISBN 0-300-10518-5.</ref> วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดกับผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณหมู่เกาะ[[อินโดนีเซีย]] [[ฟิลิปปินส์มาเลเซีย]] และ[[โอเชียเนียฟิลิปปินส์]] (Oceania)และโอเชียเนีย<ref>Op. cit., Hinzler, Heidi. (1995), pp. 24-25. </ref>

มีการขุดพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายุกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก์ (Cekik) ที่อยู่ทางตะวันตก รวมทั้งที่ตั้งถิ่นฐานและหลุมฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ (Neolithic) ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ซิตุสปูร์บาลากา (Museum Situs Purbalaka) ที่เมืองกีลีมานุก์ (Gilimanuk) อีกด้วย<ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"> Ver Berkmoes, Ryan, Skolnick, Adam & Caroll, Marian. (2009). ''Lonely planet: Bali & Lombok''. (12th ed.). Melbourne: Lonely Planet. ISBN 978-1-74104-864-3.</ref><ref name = "History of Bali">[http://indonesia-tourism.com/bali/history.html History of Bali]</ref> ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแผ่[[ศาสนาฮินดู]]เข้ามายังหมู่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รู้กันน้อยมาก <ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"/> อย่างไรก็ตามบาหลีเริ่มเป็นเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล<ref name = "History of Bali"/> การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฏในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ (Sanur) รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของ[[ศาสนาพุทธ]]และฮินดู บริเวณรอบ ๆ ภูเขากูนุงกาวี (Gunung Kawi) และถ้ำโกอากาจะฮ์ (Goa Gajah)
 
=== อิทธิพลของศาสนาฮินดู ===