ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Infobox military unit
|unit_name = กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน<br/>國民革命軍<br/>Guómín Gémìng Jūn<br/>กว๋อหมินเก๋อหมิงจวิน
|image = [[Fileไฟล์:Republic of China Army Flag.svg|310px310px|border|alt=Flag of the National Revolutionary Army]]
|caption = Flag of the National Revolutionary Army (known as the [[Republic of China Army]] after the [[Constitution of the Republic of China|1947 Constitution]])
|dates = 1925–1947
เส้น 34 ⟶ 35:
'''กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน''' ('''NRA'''), ในบางครั้งอาจเรียกอย่างย่อๆว่า '''กองทัพปฏิวัติ''' (革命軍) ก่อนปี ค.ศ. 1928, และเป็น '''กองทัพแห่งชาติ''' (國軍) หลังค.ศ. 1928, กองทัพปฏิวัติแห่งชาติเป็นกองทัพของ[[พรรคก๊กมินตั๋ง]] (พรรคชาตินิยมจีนหรือจีนคณะชาติ) ตั้งแต่ ค.ศ. 1925 ถึง 1947 ใน [[สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)|สาธารณรัฐจีน]] กองทัพปฏิวัติได้กลายมาเป็นกองทัพประจำการของสาธารณรัฐจีนในระหว่างตลอดการปกครองของก๊กมินตั๋งเริ่มในปี ค.ศ. 1928 กองทัพปฏิวัติได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น[[กองทัพสาธารณรัฐจีน]] หลังมีการร่าง [[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีน ค.ศ. 1947]], ที่ซึ่งได้มีการริเริ่มจัดให้มี[[การควบคุมโดยพลเรือน]]
 
โดยแรกเริ่มนั้นกองทัพปฏิวัติได้ถูกจัดตั้งโดยการช่วยเหลือทางทหารจาก[[สหภาพโซเวียต]] เพื่อช่วยให้พรรคก๊กมินตั๋งในการรวบรวมประเทศจีนในช่วง[[ยุคขุนศึก]] กองทัพปฏิวัติแห่งชาติำด้ชาติด้ทำการสู้รบในการรบหลักคือ [[การกรีฑาทัพขึ้นเหนือ]], การต่อต้าน[[กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น]]ใน[[สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง]]และในการสู้รบกับ[[กองทัพปลดปล่อยประชาชน]]ของ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ใน[[สงครามกลางเมืองจีน]]
 
ในระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่น กองกำลังติดอาวุธของพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้ถูกรวมเข้าด้วยกันกับกองทัพปฏิวัติแห่งชาติอย่างหลอมๆ (ในขณะที่ยังคงมีการแยกการบัญชาการโดยผู้นำ) เนื่องจากความจำยอมและประนีประนอมร่วมกันระหว่างพรรคก๊กมินตั๋งกับพรรคคอมมิวนิสต์จีนในการร่วมมือกันชั่วคราวในการต่อต้านการรุกรานของญี่ปุ่น
เส้น 40 ⟶ 41:
และการร่วมมือยังคงมีความขัดแย้งและในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์ได้แยกออกไปกองทัพปลดปล่อยประชาชนของตนเองหลังสงครามกับญี่ปุ่นยุติลง ด้วยการปรักาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีนปี ค.ศ. 1947 และการสิ้นสุดการปกครองจีนแผ่นดินใหญ่ของก๊กมินตั๋ง หลังจากการพ่ายแพ้ของพรรคก๊กมินตั๋งในสงครามกลางเมืองจีนให้กับพรรคคอมมิวนิสต์จีน และกองทัพปฏิวัติแห่งชาติได้ล่าถอยอพยพไปยัง[[เกาะไต้หวัน]]ในปี ค.ศ. 1949 ต่อมากองทัพปฏิวัติแห่งชาติได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น[[กองทัพสาธารณรัฐจีน|กองทัพแห่งสาธารณรัฐจีน]]
==ประวัติ==
[[Imageไฟล์:Chiang1926.jpg|thumb|left|[[จอมทัพ]] [[เจียงไคเชก]], ผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน, ผู้มีบทบาทในชัยชนะการกรีฑาทัพขึ้นเหนือและต่อมาได้เป็นผู้นำของประเทศจีน]]
[[Imageไฟล์:Kmtarmy.JPG|thumb|200px|กองทัพปฏิวัติชาติในสงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
กองทัพปฏิวัติได้ถูกก่อตั้งโดยพรรคก๊กมินตั๋งในปี ค.ศ. 1925 ในฐานะเป็นกองทัพทางทหารเพื่อมุ่งหมายในการรวมประเทศจีนในการกรีฑาทัพขึ้นเหนือ กองทัพได้มีการจัดตั้งรวบรวมอย่างเป็นระบบด้วยความช่วยเหลือ[[องค์การคอมมิวนิสต์สากล]]หรือโคมินเทิร์นและได้รับการชี้นำภายใต้การปลูกฝังของ[[ลัทธิไตรราษฎร์]]ของดร.[[ซุน ยัตเซ็น]]เป็นหัวใจหลัก แต่บ่อยครั้งความแตกต่างและแตกแยกภายในพรรคทำให้กองทัพมักจะไม่มีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่กองทัพจำนวนมากได้ผ่านการศึกษาจาก[[โรงเรียนนายร้อยหวังปัว]]และผู้บัญชาการทหารคนแรกคือ [[เจียงไคเชก]] ที่ได้เป็นจอมทัพของกองทัพในปี ค.ศ. 1925 ก่อนที่จะนำทัพเข้ารบและได้รับชัยชนะในการกรีฑาทัพขึ้นเหนือ ผู้บัญชาการผู้มีบทบาทสำคัญคนอื่นๆรวมถึง [[ตู ยูหมิง]] และ [[เฉิน เฉิง]] การกรีฑาทัพขึ้นเหนือในปี ค.ศ. 1928 ได้ถูกใช้เป็นวันที่เมื่อยุคขุนศึกจีนได้สิ้นสุดลง
เส้น 50 ⟶ 51:
 
<gallery>
Fileไฟล์:Wuchangqiyi paobing.JPG|ทหารของกองทัพปฏิวัติในช่วง[[การปฏิวัติซินไฮ่]]
Fileไฟล์:Yiap Jianyin in NRA uniform.jpg|เครื่องแบบของกองทัพปฏิวัติในยุคแรก (สวมหมวกหม้อตาล)
Fileไฟล์:He Yingqin thanked for the cinematographer.jpg|ทหารของกองทัพปฏิวัติกับช่างถ่ายภาพชาวอังกฤษ
</gallery>
{{-}}
 
==กองพลที่ได้รับการฝึกฝนจากที่ปรึกษาเยอรมัน==
[[Fileไฟล์:KMTcadet.jpg|thumb|ทหารของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนสวม[[:en:Stahlhelm|หมวกสตาร์ลฮีมรุ่น M35]] และ ปืนแบบ[[:en:ZB vz. 26|ZB vz. 26]]]]
[[Fileไฟล์:Wang Jingwei Regime Army soldier.JPG|thumb|ทหารของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนที่ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมัน]]
 
เจียง ไคเชก (蔣中正) ขึ้นมามีอำนาจ เขาก็ได้ทำการบูรณะกองทัพใหม่หมด โดยได้รับแรงสนับสนุนมาจากสหภาพโซเวียต และ เยอรมนี ซึ่งในภายหลังจากที่เจียง เริ่มครองประเทศแบบการปกครองแบบทหาร เขาก็เริ่มปฏิเสธความช่วยเหลือด้านทหารจากสหภาพโซเวียต แล้วหันมาเข้ากับนาซีเยอรมันแทน แต่ภายในปี 1933 นั้น รัฐบาลจีนก็ไม่สามารถพัฒนากองทัพจีนให้แทบเท่ากับประเทศใหญ่ ๆ ประเทศอื่น ๆ ได้ บวกกับความขัดแย้งภายในที่มีกับพวกคอมมิวนิสต์ และ ภัยคุกคามจากจักรวรรดิญี่ปุ่น กองทัพจีนก็ต้องพึ่งพายุทโธปกรณ์ที่ล้าสมัยเพื่อต่อต้านกับภัยเหล่านั้น เมื่อญี่ปุ่นประกาศสงครามกับสาธารณรัฐจีนในกลางปี 1937 รัฐบาลจีนกับพวกคอมมิวนิสต์ก็ร่วมมือกันต่อสู้ญี่ปุ่นที่บุกเข้ามา ซึ่งตอนนั้นเองอาวุธยุทโธปกรณ์ส่วนมากของจีนก็มาจากนาซีเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ เช่น [[:en:Stahlhelm|หมวกเหล็กแบบทองทัพเยอรมัน]] (Stahlhelm) และ อาวุธต่าง ๆ อย่างปืนรุ่นที่ 24 (二四式) ที่เป็นตัวก็อปปี้ของคาราบีเนอร์ 98คา (Karabiner 98k)
เส้น 65 ⟶ 66:
 
<gallery>
Fileไฟล์:Wuhan german divs.jpg|ทหารของกองทัพปฏิวัติที่เมือง[[อู่ฮั่น]]
Fileไฟล์:Cecil Beaton Photographs- General IB2789C.jpg|ทหารที่ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมันที่เมือง[[เฉิงตู]]
</gallery>
{{-}}
 
==กองพลที่ได้รับการสนับสนุนจากอังกฤษ==
[[Fileไฟล์:NRA machinegunners.jpg|thumb|right|ทหารของกองพลที่ได้รับอาวุธจากอังกฤษสวม[[:en:Brodie helmet|หมวกแบบโบรดี้]] (Brodie helmet)]]
[[Fileไฟล์:Chinese army marching.jpg|thumb|right|ทหารของกองพลที่ได้รับอาวุธจากอังกฤษเดินสวนสนาม]]
 
กองทัพของสาธารณรัฐยังคงเห็นวาสหมวกเหล็กจองกองทัพยังไม่เพียงพอ และมีการสั่งซื่อหมวกแบบ [[:en:Brodie helmet|หมวกโบรดี้]] (Brodie helmet) ของกองทัพอังกฤษ ซึ่งเป็นหมวกที่ปรับให้เตี้ยและแบนลง ซึ่งหมวกเกราะดังกล่าวมีมีสัญลักษณ์พระอาทิตย์ของพรรคก๊กมินตั๋งติดอยู่ด้านหน้าของหมวก แบบเดียวกับที่ติดอยู่บน[[ธงชาติของสาธารณรัฐจีน]] หลังจากสงครามกับญี่ปุ่นปะทุขึ้น กองทัพจีนก็มองเห็นว่าพวกเขาขาดแคลนหมวกเหล็กเป็นอย่างมาก ทางอังกฤษก็ส่งหมวกโบรดี้ให้ ส่วนชุดทหารเป็นเสื้อชั้นนอกมีกระเป๋าสีช่อง กระดุมแบบไม้ และ ปกเสื้อแบบตั้งไม่มีแถบไหล่ ปกเสื้อนั้นมีแผ่นสีแปะไว้เพื่อแสดงถึงเหล่าทัพของทหาร สีแดงเป็นทหาารราบ, สีเหลืองคือทหารม้า, สีน้ำเงินคือทหารปืนใหญ่ และ สีขาวคือทหารช่าง กองทัพอากาศก็ใช้แบบแผนเดียวกัน ในด้านของอาวุธนั้น ทหารราบทั่วไปจะใช้ปืนไรเฟิลรุ่นที่ 24 เป็นส่วนมาก และ ขณะเดียวกันก็ใช้ปืนนำเข้าอย่าง เมาเซอร์ซี 96 (Mauser C96) และ Browning Hi-Power (บราวนิงก์ ไฮพาวเวอร์) ส่วนกองพลที่ได้รับการฝึกฝนโดยตรงจากผู้ให้คำปรึกษาชาวเยอรมันก็ใส่ชุดแบบเดียวกันกับกองพลธรรมดา แต่ใช้หมวกเหล็กของกองทัพเยอรมันอย่างหมวกปี 1916 (M1916) ที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่วนกองพลที่ถูกส่งไปอินเดียในช่วงสงครามนั้นใช้เครื่องแบบของอังกฤษ และ อเมริกา - หลังจากที่ญี่ปุ่นเริ่มบุกจีนลึกขึ้นเรื่อย ๆ เหล่าบุคคลที่ต่อต้านรัฐบาลก๊กมินตั๋ง และ มีความคิดแบบเดียวกันกับญี่ปุ่น (ต่อต้านคอมมิวนิสต์) ก็ได้ร่วมมือกับญี่ปุ่นก่อตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดที่มีชื่อว่ารัฐบาลปฏิรูป (汪精卫政权) ขึ้นมา โดยมีเหมือนหลวงอยู่ที่กรุงนานจิง (南京市) โดยอาวุธยุทโธปกรณ์ส่วนมากมาจากญี่ปุ่น และ เครื่องแบบก็ใช้แบบเดียวกับกองกำลังญี่ปุ่น