ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = โรงภาพยนตร์สกาลา
| ชื่อภาษาอื่น = Scala Cinema
| ภาพ = Scala Cinema (I).jpg
| คำบรรยายภาพ = โรงภาพยนตร์สกาลา
| สิ่งก่อสร้าง = โรงภาพยนตร์ประเภทสแตนอโลน
| เมืองที่ตั้ง = เขตปทุมวัน, [[กรุงเทพมหานคร]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]]
| ปีสร้าง = พ.ศ. 2512
| ผู้สร้าง =
| ปีรื้อ =
| ปีบูรณะ =
| ผู้บูรณะ =
| แบบสถาปัตยกรรม = [[อลังการศิลป์|อาร์ตเดโค]]
| โครงสร้าง = คอนกรีตเสริมเหล็ก
| ขนาด =
| รายละเอียดอื่น = ที่นั่งทั้งหมด 904 ที่
| สถาปนิก = พ.อ. จิระ ศิลปะกนก<ref>[http://asaconservationaward.com/index.php/2016-06-13-15-23-31/commercial2555/373-scala-theater โรงภาพยนตร์สกาล่า], เว็บไซต์: http://asaconservationaward.com/ .วันที่ 8 กันยายน 2016</ref>
| วิศวกร =
| ตกแต่งภายใน =
| สวน =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล = รางวัลอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2555 จาก[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]]
| สิ่งที่น่าสนใจ = {{bulleted list|
| เป็นโรงหนังสแตนอโลนที่เหลืออยู่ไม่กี่หลังในประเทศไทย
| ฝ้าและแชนเดอเรียบริเวณโถงเข้าอาคาร ที่สวยงาม
}}
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ = โรงหนังตั้งชื่อตามโรงอุปรากร ลาสกาลา (Teatro alla Scala) ในเมือง[[มิลาน]] [[ประเทศอิตาลี]]<ref name="detail1">[https://gmlive.com/GMBiZ-Scala-Paradiso 'Scala Paradiso' สกาลารำลึก ชะตากรรมและความคลุมเครือของโรงหนังสแตนอโลนแห่งสุดท้าย], เว็บไซต์: https://gmlive.com/ .สืบค้นเมื่อ 27/09/2561</ref>
}}
 
[[ไฟล์:Lido cinemas Bangkok 2007.jpg|200px|thumb|โรงภาพยนตร์ลิโด]]
 
 
'''โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์''' เป็นกลุ่ม[[โรงภาพยนตร์]] ซึ่งเกือบทั้งหมด มีที่ตั้งอยู่ในย่าน[[สยามสแควร์]] ประกอบด้วย โรงภาพยนตร์[[ศาลาเฉลิมไทย]] (จนถึงต้นปี [[พ.ศ. 2532]]) โรงภาพยนตร์สยาม โรงภาพยนตร์ลิโด และ โรงภาพยนตร์สกาลา จดทะเบียนธุรกิจในนามสยามมหรสพ<ref>[https://marketeeronline.co/archives/7749 ทำไม ลิโด้ – สกาล่า ไม่ได้ไปต่อ]</ref> มีทุนจดทะเบียน 20 ล้านบาท จัดตั้งเมื่อปี 2511 ขณะที่ข้อมูลจากบางสำนักระบุว่าบริษัท เอเพกซ์ภาพยนตร์ จำกัด เป็นผู้ประกอบธุรกิจโรงภาพยนตร์ทั้งลิโด้และสกาล่า โดยบริษัทดังกล่าวจัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2523 มีทุนจดทะเบียน 140 ล้านบาท<ref>[https://www.sanook.com/money/537141/ "สกาลา" น่าเป็นห่วง]</ref> จากจุดตั้งต้น 1 ล้านบาท มีเจ้าของประกอบไปด้วย กัมพล ต้นสัจจา, นันทา ต้นสัจจา และ วิวัฒน์ ต้นสัจจา ที่บริหาร[[สวนนงนุช]]<ref>[https://positioningmag.com/1171683 ไม่ไปต่อ ! ปิดฉาก “ลิโด้” 31 พ.ค. 50 ปีตำนานโรงหนังบนกรุสมบัติที่ดินทรัพย์สินจุฬาฯ]</ref>
 
เส้น 27 ⟶ 61:
 
=== สถาปัตยกรรม ===
โรงภาพยนตร์สกาล่า ออกแบบโดยจิระ ศิลป์กนก ชื่อโรงภาพยนตร์ตั้งชื่อตามโรงอุปรากร Teatro alla Scala แห่งเมือง[[มิลาน]] [[ประเทศอิตาลี]] โดยคำว่า Scala มีความหมายว่า บันได ในภาษาอิตาลี โรงภาพยนตร์ออกแบบในศิลปะ[[อาร์ตเดโค]] ภายในมีเสาคอนกรีตโค้ง การผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมตะวันออกกับตะวันตก และโคมฟ้าระย้าทรงหยดนํ้าค้างแข็ง 5 ชั้นขนาดยักษ์ที่สั่งตรงจากอิตาลี ในปี 2555 สกาล่าได้รับรางวัลอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่น ปี 2555 จาก[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]]<ref>[https://www.thairath.co.th/content/624056 อำนาจเงิน-ทรงคุณค่า แบบไหนจะชนะ? ทุบทิ้ง-คงไว้ โรงหนังสกาลา]</ref><ref name="detail1">[https://www.gmlive.com/GMBiZ-Scala-Paradiso 'Scala Paradiso' สกาลารำลึก ชะตากรรมและความคลุมเครือของโรงหนังสแตนอโลนแห่งสุดท้าย]</ref> บริเวณหน้าทางเข้าโรงหนังมีปูนปั้นลอยตัวที่แสดงถึงความบันเทิงของเอเชีย ซึ่งมีทั้งบาหลี ญี่ปุ่น จีน อินเดีย ไทย รวมอยู่บนผนัง<ref>[https://www.thairath.co.th/content/623311 "ตัวไม่อยู่ ขอให้โรงหนังอยู่" ล้วงใจเจ้าของสกาลา รอวันอำลาหรือฉายต่อ?]</ref>
 
== อ้างอิง ==