ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอมีล ดูร์กายม์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Emile_Durkheim.jpg|frame|right|เอมีล ดูร์กายม์]]
 
'''ดาวิดวีด เอมิมีดูร์ไกม์ดูร์กายม์''' ({{lang-fr|David Émile Durkheim)}}; (15 เมษายน ค.ศ. 1858 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917) เป็นผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของ[[สังคมวิทยา]]สมัยใหม่ เขายังเป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาสังคมวิทยาแห่งแรกในยุโรปในปี ค.ศ. 1895 และในปี ค.ศ. 1896 ได้ก่อตั้งวารสารทางวิชาการด้านสังคมวิทยาชื่อ [[L'Année Sociologique]]
 
== ประวัติ ==
เอมิมีดูร์ไกม์ดูร์กายม์ เป็นชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1858 ณ เมืองเอปินาลปีนาล (EpinalÉpinal) หลังจากสำเร็จการศึกษาที่เมือง Epinal เอปีนาลและ Parisปารีส ได้เป็นอาจารย์สอนที่โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่ง (un lycée) ในสาขาวิชาปรัชญา (Philosophie) แต่หลังจากนั้นไม่นานเขาได้หันมาสนใจในด้านของสังคมวิทยาอย่างจริงจัง และได้ไปศึกษาเพิ่มเติมที่เยอรมันเยอรมนี ในด้านที่เกี่ยวกับสังคมวิทยา และเริมตั้งแต่ปีค.ศ. 1887 เขาได้เป็นอาจารย์ที่ มหาวิทยาลัยบอร์กโดว์ (l'université de Bordeaux)บอร์โด ซึ่งสอนในด้าน Science sociale สังคมศาสตร์และ Educationศึกษาศาสตร์ หลังจากนั้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1902 เขาเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยซอร์กบอนซอร์บอน เมืองParis (La sorbonne)กรุงปารีส ในสาขา science of education ศึกษาศาสตร์และ สาขาสังคมวิทยา Sociology ดูร์ไกม์ดูร์กายม์ก่อตั้งวารสารแห่งชาติ ทางด้านสังคมวิทยาที่มีชือว่า L'Année sociologie และได้รับการยกย่องเป็นบุคคลสำคัญมากคนหนึ่ง ทางด้านสังคมวิทยา
 
เอกสารที่สำคัญของดูร์กายม์มี Durkheim4 มี 4เล่มคือ
# De la division du travail sociale (เมื่อปีค.ศ. 1893) ช่วยวางรากฐานสำคัญของทฤษฎีหลัก ในด้านสังคมวิทยาของดูร์ไกม์ดูร์กายม์
# Les règles de la méthode sociologique (ค.ศ. 1895) ช่วยชี้ระเบียบแบบแผนของสังคมวิทยา ว่าควรศึกษาอะไร ค้นคว้าด้านไหน และต้องมีความเป็นเอกลักษณ์ของสังคมวิทยาอย่างไร
# Le suicide (ค.ศ. 1897) งานชิ้นซึ่งอธิบายปรากฏการณ์การฆ่าตัวตายด้วยสังคมวิทยา ว่าเป็นปรากฏการณ์ทางด้านสังคม และได้อธิบายระเบียบวิธีการทางด้านสังคมวิทยาไปด้วย
# Les formes élémentaires de la vie religieuse เป็นงานซึ่งช่วยสนับสนุนทฤษฎีสังคมวิทยาของดูร์ไกม์ดูร์กายม์อีกเล่มหนึ่ง
 
== ทฤษฎีและแนวคิด ==
ดูร์ไกม์ดูร์กายม์สังเกตเห็นการล่มสลายของ[[บรรทัดฐานทางสังคม]] และการเพิ่มขึ้นของความไม่เป็นส่วนตัวในการใช้ชีวิตในสังคม เพื่อที่จะศึกษาชีวิตของมนุษย์ในสังคมสมัยใหม่ เขาได้สร้างวิธีการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมแบบวิทยาศาสตร์แนวทางแรกๆแรก ๆ
 
ดูร์ไกม์ดูร์กายม์ไม่คิดเหมือน [[มักซ์มัคส์ เวเบอร์]] ที่เชื่อว่านักสังคมวิทยาต้องศึกษาปัจจัยที่ผลักดันกิจกรรมที่ปัจเจกกระทำ เขามักได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาของ[[แนวคิดกลุ่มนิยมเชิงระเบียบวิธี]] หรือแนวคิดองค์รวม (ซึ่งตรงกันข้ามกับ[[แนวคิดปัจเจกนิยมเชิงระเบียบวิธี]]) เนื่องจากเขามีเป้าหมายที่จะศึกษา ''[[ความจริงทางสังคม]]'' ซึ่งเขาใช้เรียกปรากฏการณ์ที่มีอยู่ในสังคมซึ่งเกิดขึ้นและดำรงอยู่ โดยไม่ขึ้นอยู่กับกิจกรรมของบุคคลใดๆใด ๆ บุคคลหนึ่งคนเดียว
 
ในผลงานเมื่อปี ค.ศ. 1893 ชื่อ ''[[การแบ่งงานในสังคม (หนังสือ)|การแบ่งงานในสังคม]]'' ดูร์ไกม์ดูร์กายม์ได้ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อมโยงและความสัมพันธ์กันระหว่างสมาชิกในสังคมรูปแบบต่างๆต่าง ๆ เขามุ่งประเด็นอยู่ที่ลักษณะของ[[การแบ่งงาน]] และศึกษาความแตกต่างที่มีใน[[สังคมดั้งเดิม]]และสังคม[[สมัยใหม่]] นักคิดก่อนหน้าดูร์ไกม์ดูร์กายม์ เช่น [[เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์]] (Herbert Spencer) และ [[เฟอร์ดินานด์แฟร์ดีนันท์ โทเอนนีส์เทินเนียส]] (Ferdinand ToenniesTönnies) ได้อธิบายว่า สังคมนั้นมีการพัฒนาในลักษณะเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิต จากที่มีรูปแบบพื้นฐานไม่ยุ่งยาก จนกลายเป็นสิ่งที่ซับซ้อนขึ้น คล้ายคลึงกับการทำงานของเครื่องจักรที่ซับซ้อน ดูร์ไกม์ดูร์กายม์มองในมุมที่กลับกัน เขากล่าวว่าสังคมดั้งเดิมนั้นมีลักษณะเป็นแบบ 'เชิงกลไก' โดยที่สังคมนั้นเกาะเกี่ยวเป็นหนึ่งเดียวกันได้ด้วยสาเหตุที่ว่าทุกคนมีลักษณะที่คล้ายๆคล้าย ๆ กัน ซึ่งทำให้มีสิ่งของรวมถึงความคิดที่เหมือนและไปกันได้ ดูร์ไกม์กล่าวว่าดูร์กายม์กล่าวว่า ในสังคมดั้งเดิมนั้น [[สำนึกของกลุ่ม]]นั้นมีบทบาทเหนือสำนึกของปัจเจก — บรรทัดฐานนั้นเข้มแข็ง และพฤติกรรมของสมาชิกก็อยู่ในกฎเกณฑ์
 
ลักษณะเช่นนี้เปลี่ยนไปในสังคมสมัยใหม่ ซึ่งเขากล่าวว่า ผลของระบบการแบ่งงานอย่างซับซ้อนทำให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน '"เชิงอินทรีย์'" (organic solidarity) กล่าวคือ ความชำนาญเฉพาะด้านในหน้าที่การงานรวมถึงบทบาททางสังคม ทำให้เกิดการขึ้นต่อกันที่ยึดเหนี่ยวผู้คนเอาไว้ด้วยกัน ทั้งนี้เนื่องจากผู้คนไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยการกระทำทุกอย่างด้วยตัวคนเดียว ตัวอย่างเช่นในสังคม '"เชิงกลไก'" ชาวนาอาจทำนาและอยู่ได้โดยลำพัง แต่ก็รวมกลุ่มกับคนอื่นๆอื่น ๆ ที่มีแบบแผนการดำรงชีวิตรวมถึงอาชีพแบบเดียวกัน ในสังคม 'เชิงอินทรีย์' คนงานทำงานเพื่อได้รายได้ แต่ก็ต้องพึ่งคนอื่นๆอื่น ๆ ที่มีความชำนาญในด้านที่แตกต่างออกไป เช่นทำเครื่องนุ่งห่ม ผลิตอาหาร เพื่อตอบสนองความต้องการในด้านต่างๆต่าง ๆ
 
ผลจากการเพิ่มขึ้นของระดับการแบ่งงาน ในความคิดของดูร์ไกม์นั้นดูร์กายม์นั้น คือการเกิดขึ้นของสำนึกของสมาชิกแต่ละคน ที่มักจะอยู่ในสภาวะขัดแย้งกับสำนึกของกลุ่ม จึงทำให้เกิดความสับสนกับบรรทัดฐาน และในที่สุดแล้วอาจทำให้เกิดการล่มสลายของพฤติกรรมที่อยู่ในกฎเกณฑ์ของ[[บรรทัดฐาน (สังคมวิทยา)|บรรทัดฐานทางสังคม]] ดูร์ไกม์ดูร์กายม์เรียกสภาวะนี้ว่า ''[[อโนมี]]'' ซึ่งหมายถึงสภาวะที่ไร้บรรทัดฐานทางสังคมทั้งหมด อันเป็นสภาวะที่ความปรารถนาของปัจเจกบุคคลมีได้ถูกบังคับไว้ด้วยบรรทัดฐานใดๆใด ๆ ทางสังคมเลย สภาวะทำให้เกิด[[พฤติกรรมเบี่ยงเบน]]หลายๆหลาย ๆ แบบ เช่น [[อัตวินิบาตกรรม]] หรือ การฆ่าตัวตาย
 
ดูร์ไกม์ดูร์กายม์ได้พัฒนาแนวคิดของอโนมีเพิ่มเติมในหนังสือ ''อัตวินิบาตกรรม'' ที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1897 เขาเปรียบเทียบอัตราการทำอัตวินิบาตกรรมระหว่างกลุ่มคนในนิกาย[[โปรเตสแตนท์โปรเตสแตนต์]]และในนิกาย[[แคทอลิก]] และอธิบายว่าระดับของความเข้มแข็งของการควบคุมทางสังคมในกลุ่มนิกาย[[แคทอลิก]] มีผลเกี่ยวข้องกับอัตราการทำอัตวินิบาตกรรมที่ต่ำกว่า ในทัศนะของดูร์ไกม์ดูร์กายม์ ผู้คนนั้นมีการยึดติดอยู่กับกลุ่มในระดับหนึ่ง การยึดติดนี้เขาเรียกว่า[[บูรณาการทางสังคม]] (social integration) ระดับที่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปของบูรณาการทางสังคมอาจทำให้ระดับของการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น ระดับของบูรณาการทางสังคมที่ต่ำเกินไปทำให้สังคมขาดการจัดองค์กรที่ดี และมีลักษณะที่กระจัดกระจาย ทำให้ผู้คนหันไปพึ่งการฆ่าตัวตายเพื่อเป็นทางออกสุดท้าย ในขณะที่ระดับที่สูงเกินไปบีบบังคับให้ผู้คนฆ่าตัวตายเพื่อลดภาระที่เกิดจากสังคม ดูร์ไกม์ดูร์กายม์ได้ให้ความเห็นว่าสังคมแคทอลิกนั้นมีระดับของบูรณาการที่ปกติ ในขณะที่สังคมโปรเตสแตนท์โปรเตสแตนต์มีระดับที่ต่ำ ผลงานชิ้นนั้นมีอิทธิพลต่อการศึกษา[[ทฤษฎีควบคุม (สังคมวิทยา)|ทฤษฎีควบคุม]] และมักถูกจัดว่าเป็นการเนื้อหาของสังคมวิทยายุคคลาสสิก
 
ดูร์ไกม์ดูร์กายม์ยังสนใจเกี่ยวกับการศึกษาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เนื่องจากเขาเองทำงานเป็นผู้ฝึกสอนครู และเขาก็ใช้โอกาสนี้ในการปรับปรุงหลักสูตรให้มีการสอนสังคมวิทยาไปในวงกว้างเท่าที่จะทำได้ นอกจากนี้เขายังสนใจที่จะใช้การศึกษาเพื่อสร้างพื้นฐานทางสังคมร่วมกันของพลเมืองชาวฝรั่งเศส เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสภาวะอโนมีขึ้น เพื่อเป้าประสงค์นี้ เขาจึงได้เสนอให้มีการตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเพื่อเป็นแหล่งสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันสำหรับผู้ใหญ่
 
ดูร์ไกม์ดูร์กายม์ยังเป็นที่จดจำจากงานของเขาที่เกี่ยวกับชนพื้นเมือง (นั่นคือ มนุษย์ที่ไม่ใช่ชาวตะวันตก) ในหนังสือชื่อ ''รูปแบบพื้นฐานของชีวิตศาสนิกชน'' และในความเรียงชื่อ ''การจำแนกชนพื้นเมือง'' ที่เขาเขียนร่วมกับ [[มาเซล มูส|มาเซลมาร์แซล โมส]] (Marcel Mauss) งานเหล่านี้ศึกษาบทบาทของศาสนาและตำนานที่มีกับมุมมองต่อโลกและบุคลิกลักษณะของผู้คน ที่อยู่ในสังคมที่มีลักษณะเป็นสังคมเชิงกลอย่างมาก
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.relst.uiuc.edu/durkheim The Durkheim Pages] - เว็บไซต์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับดูร์ไกม์ดูร์กายม์
* [http://www.hewett.norfolk.sch.uk/curric/soc/durkheim/durk.htm Useful information about Durkheim] - เว็บไซต์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับดูร์ไกม์ดูร์กายม์อีกที่หนึ่ง
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 38:
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2401]]
[[หมวดหมู่:นักสังคมวิทยา|ดเดอร์ไคหม์, อีมิล]]
[[หมวดหมู่:ชาวฝรั่งเศส]]