ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armbrust (คุย | ส่วนร่วม)
(GR) File renamed: File:Africa Koppen Map.pngFile:Africa Köppen Map.png Criterion 3 (obvious error) · Correction of the spelling of the name.
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Köppen World Map (retouched version).png|thumb|550px|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพิน<ref name=Peel>{{cite journal | author=Peel, M. C. and Finlayson, B. L. and McMahon, T. A. | year=2007 | title= Updated world map of the Köppen–Geiger climate classification | journal=Hydrol. Earth Syst. Sci. | volume=11 | pages=1633–1644 |doi=10.5194/hess-11-1633-2007 | url=http://www.hydrol-earth-syst-sci.net/11/1633/2007/hess-11-1633-2007.html | issn = 1027-5606}} ''(direct: [http://www.hydrol-earth-syst-sci.net/11/1633/2007/hess-11-1633-2007.pdf Final Revised Paper])''</ref>
{|
|- valign=top |
บรรทัด 51:
]]
 
'''การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพิน''' ({{lang-en|Köppen climate classification}}) เป็นหนึ่งในระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศที่ใช้กันกว้างขวางที่สุด [[วลาดิเมียร์วลาดีเมียร์ เคิปเปนเคิพเพิน]] เป็นผู้เผยแพร่ระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้เป็นคนแรกในปี [[พ.ศ. 2427]] และการแก้ไขเล็กน้อยโดยเคิปเปนเคิพเพินเองตามมาในปี [[พ.ศ. 2461]] และ [[พ.ศ. 2479]] ภายหลังนักกาลวิทยาชาวเยอรมนีเยอรมันนามว่า [[รูดอล์ฟด็อล์ฟ ไกเกอร์]] ร่วมมือกับเคิปเปนเคิพเพินเปลี่ยนแปลงระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้ บางครั้งจึงสามารถอาจเรียกได้ระบบนี้ว่า'''การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนและไกเกอร์เคิพเพินและไกเกอร์''' ({{lang|En|Köppen–Geiger climate classification system}})
 
==การแบ่งเขตภูมิอากาศ==
การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินนั้นแบ่งเขตภูมิอากาศเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 5 กลุ่ม (อันประกอบด้วยกลุ่ม A, B, C, D และ E) แต่ละกลุ่มใหญ่จะมีประเภทของเขตภูมิอากาศแบบต่าง ๆ อยู่ โดยแต่ละประเภทจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์อักษร[[ภาษาอังกฤษ]]ตั้งแต่ 2 ถึง 4 ตัวอักษร
 
===กลุ่ม A (ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น)===
 
[[ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น]]มีลักษณะพิเศษคืออุญหภูมิที่ค่อนข้างสูงบริเวณ[[ระดับน้ำทะเล]] ตลอดเวลา 12 เดือนใน 1 ปี จะมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 18&nbsp;°C องศาเซลเซียส (64&nbsp;°F) องศาฟาเรนไฮต์) หรือสูงกว่านี้ ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสามารถแบ่งได้เป็นเขตภูมิอากาศย่อย ๆ ดังนี้
 
* '''[[ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น]]''' (''Af'') ตลอด 12 เดือนมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย {{Convert|60|mm|abbr=on}} สามารถพบภูมิอากาศแบบนี้ได้บริเวณละติจูด 5–10° องศาเหนือหรือใต้[[เส้นศูนย์สูตร]] ในบางพื้นที่ชายฝั่งตะวันออกอาจพบภูมิอากาศแบบนี้ได้ไกลถึง 25° องศาจาก[[เส้นศูนย์สูตร]]
**ตัวอย่างเมือง
***[[สิงคโปร์]]
***[[เมืองโบคัสกัส]], [[ประเทศปานามา]]
* '''[[ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน]]''' (''Am'')
**ตัวอย่างเมือง
บรรทัด 74:
 
===กลุ่ม B (ภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง)===
ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งเป็นบริเวณที่มี[[การระเหย]]ของน้ำสูง ไม่มีปริมาณฝนเหลือพอที่จะเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ปรากฏทั้งใน[[เขตร้อน]]และ[[เขตอบอุ่น]] แบ่งเป็นภูมิอากาศย่อย ดังนี้<ref>มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา. 2557. '''ภูมิศาสตร์กายภาพ'''. ด่านสุทธาการพิมพ์.</ref>
* ภูมิอากาศแบบทะเลทราย (''BW'') ปริมาณฝนตลอดปีน้อยกว่า 250 มิลลิเมตร (10 นิ้ว) ส่วนมากพบอยู่ตอนในของภาคพื้นทวีปทั้งบริเวณอากาศร้อนและอากาศอบอุ่น ทำให้แบ่งภูมิอากศย่อยได้ภูมิอากาศย่อยได้ ดังนี้
** '''[[ภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตร้อน]]''' (''BWh'')
** '''[[ภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตอบอุ่น]]''' (''BWk'')
* ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทราย (''BS'') มีลักษณะเป็นทุ่งหญ้าสั้น ๆ ปริมาณฝนอยู่ระหว่าง 250 - 250–750 มิลลิเมตร (10 - 10–30 นิ้ว) พบอยู่รอบ[[ทะเลทราย]]บริเวณอากาศร้อนและ[[ทะเลทราย]]บริเวณอากาศอบอุ่น ทำให้แบ่งภูมิอากาศย่อยได้ ดังนี้
** '''[[ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายเขตร้อน]]''' (''BSh'')
** '''[[ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น]]''' (''BSk'')
บรรทัด 88:
*** [[ลอสแอนเจลิส]], [[สหรัฐอเมริกา]] (''Csa'')
***[[คอร์รามาบัด]], [[ประเทศอิหร่าน]] (''Csa'')
*** [[เซบีบิยา]], [[ประเทศสเปน]] (''Csa'')
*** [[ซานเตียโก]], [[ประเทศชิลี]] (''Csb'')
*** [[เอสซาอูรา]], [[ประเทศโมร็อกโก]] (''Csb'')
บรรทัด 99:
***[[ฮ่องกง]] (''Cwa'')
***[[ฮานอย]], [[ประเทศเวียดนาม]] (''Cwa'')
***[[กอร์โดบา (ประเทศอาร์เจนตินา)|กอร์โดบา]], [[ประเทศอาร์เจนตินา]] (''Cwa'')
***[[แรชต์]], [[กิราน]], [[ประเทศอิหร่าน]] (''Cfa'')
***[[แจ็กสันวิลล์]], [[รัฐฟลอริดา]], [[สหรัฐอเมริกา]] (''Cfa'')
บรรทัด 110:
== แผนที่เพิ่มเติม ==
<gallery>
ไฟล์:Asia Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในทวีปเอเชีย
ไฟล์:Africa Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในทวีปแอฟริกา
ไฟล์:Americas Köppen Map original colors.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ไฟล์:Australia-Oceania Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในทวีปภูมิภาคโอเชียเนีย
ไฟล์:Brazil Köppen Climate Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในประเทศบราซิล
ไฟล์:Europe Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในทวีปยุโรป
ไฟล์:Russia Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในประเทศรัสเซีย
ไฟล์:West Asia Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในตะวันออกกลาง
ไฟล์:South America Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในทวีปอเมริกาใต้
ไฟล์:North America Köppen Map.png|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในทวีปอเมริกาเหนือ
ไฟล์:India and South Asia Köppen climate map with legend.jpg|แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพินในเอเชียใต้. การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน เคิพเพิน<ref name="Peel">{{cite journal | author=Peel, M. C. and Finlayson, B. L. and McMahon, T. A. | year=2007 | title= Updated world map of the Köppen–Geiger climate classification | journal=Hydrol. Earth Syst. Sci. | volume=11 | pages=1633–1644 |doi=10.5194/hess-11-1633-2007 | url=http://www.hydrol-earth-syst-sci.net/11/1633/2007/hess-11-1633-2007.html | issn = 1027-5606}} ''(direct: [http://www.hydrol-earth-syst-sci.net/11/1633/2007/hess-11-1633-2007.pdf Final Revised Paper])''</ref>
</gallery>
 
บรรทัด 127:
 
[[หมวดหมู่:ภูมิอากาศ]]
[[หมวดหมู่:การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพิน| ]]