ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mix.natthawut (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 14:
* [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย]] - เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของภาครัฐ ซึ่งดำเนินการโดย [[กรมประชาสัมพันธ์]] [[สำนักนายกรัฐมนตรี]] ออกอากาศด้วยภาพสีระบบ 625 เส้นของยุโรป ผ่านย่านความถี่วีเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 11 โดยเริ่มทดลองออกอากาศ จากเครื่องส่งโทรทัศน์ของกรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ตั้งแต่วันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2528]] โดยประชาชนทั่วไปรู้จักในชื่อทางการ และต่อด้วยชื่อเลขช่องคือ ''สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11'' หรือในชื่อย่อคือ "สทท.11" หรือ "ช่อง 11" ต่อมาจึงย้ายมาใช้ เครื่องส่งโทรทัศน์ของ สทท.เอง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณริมถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2529]] และมีพิธีเปิดสถานีฯ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ [[11 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2531]] โดยถือเป็นวันสถาปนา สทท. ต่อมารัฐบาลมีนโยบายให้ปรับปรุงรูปแบบการนำเสนอใหม่ โดยให้ยุติการใช้คำว่า "ช่อง 11" ในชื่อที่ไม่เป็นทางการของสถานีฯ อย่างจริงจัง โดยให้เปลี่ยนไปใช้คำว่า "เอ็นบีที" หรือ "สทท." เป็นการทดแทน ตั้งแต่วันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2551]] ทั้งนี้การออกอากาศในระบบแอนะล็อก ยังคงดำเนินไปจนถึงวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ตามที่มีข้อตกลงร่วมกับ กสทช.
 
* [[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]] - เป็นสถานีโทรทัศน์เสรีของภาคเอกชน (2539-2550), [[หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (ประเทศไทย)|สถานีโทรทัศน์เฉพาะกิจรูปแบบพิเศษของภาครัฐ]] (2550-2551) และ สถานีโทรทัศน์ของภาครัฐ เพื่อบริการสาธารณะ (2551-25602561) ซึ่งดำเนินการโดย สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ภายใต้สัญญาสัมปทานกับ [[บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน)]] (2539-2550), กรมประชาสัมพันธ์ (2550-2551) และ [[องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย]] (2551-2560) เริ่มออกอากาศด้วยภาพสีระบบ 625 เส้นของยุโรป ผ่านย่านความถี่ยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 26 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2539]] ด้วยชื่อว่า ''[[สถานีโทรทัศน์ไอทีวี]]'' ต่อมาคณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ (กกช.) สำนักนายกรัฐมนตรี (ชื่อ, สังกัด, สถานะ และอำนาจหน้าที่ ในขณะนั้น) อนุมัติให้ไอทีวีเปลี่ยนแปลงช่องสัญญาณ จากช่องที่ 26 มาเป็นช่องที่ 29 ตั้งแต่ราวปี [[พ.ศ. 2542]] อนึ่ง ระหว่างนั้นมีการเปลี่ยนชื่อสถานีฯ พร้อมทั้งผู้ดำเนินการ และรูปแบบการดำเนินงานเป็น ''[[สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี]]'' ตั้งแต่วันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] จนถึงวันที่ [[15 มกราคม]] พ.ศ. 2551 และเป็นชื่อปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ [[15 มกราคม]] พ.ศ. 2551 จนถึงวันที่ 15 มิถุนายน [[พ.ศ. 2561]] ตามที่มีข้อตกลงร่วมกับ กสทช.
 
==== [[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]] ====