ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สเปนภายใต้การนำของฟรังโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 71:
}}
 
'''สเปนภายใต้การนำของฟรังโก''' ({{lang-es|España franquista}}) หรือ'''ระบอบฟรังโก''' ({{lang-es|Régimen de Franco}}) ยังเรียกอีกอย่างที่เป็นทางการว่า '''รัฐสเปน''' ({{lang-es|Estado Español}}), เป็นช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ชาติสเปนในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1939 เมื่อ[[ฟรันซิสโก ฟรังโก]]ได้เข้ามาควบคุมประเทศสเปนภายหลัง[[ฝ่ายชาตินิยม (สงครามกลางเมืองสเปน)|ฝ่ายสเปนชาตินิยม]]ได้รับชัยชนะใน[[สงครามกลางเมืองสเปน]]ซึ่งได้ก่อตั้งระบอบเผด็จการ และในปี ค.ศ. 1975 เมื่อฟรังโกได้เสียชีวิตลงและ[[สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน|เจ้าชายควน การ์โลส]]ได้ขึ้นครองราชย์เป็น[[พระมหากษัตริย์สเปน]] ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] การเข้าร่วมสงครามต่อฝ่ายอักษะได้รับการขัดขวางขนาดใหญ่โดยความพยายามของหน่วยสืบราชการลับของอังกฤษ (เอ็มไอ-6) ซึ่งได้รวมถึงมีการติดสินบนแก่เจ้าหน้าที่สเปนด้วยจำนวน 200 ล้านดอลลาร์<ref>[https://www.theguardian.com/uk/2013/may/23/mi6-spain-200m-bribes-ww2 MI6 spent $200m bribing Spaniards in second world war], ''[[The Guardian]]''</ref> สเปนยังคงให้ความช่วยเหลือแก่เยอรมนีและอิตาลีในวิธีต่างๆ ภายหลังสงคราม ระบอบฟรังโกได้มีการวิวัฒนาการไปสู่ระบอบเผด็จการคลาสสิคมากขึ้น{{unreliable source|date=February 2018}}<ref>{{cite book|last1=Esparza|first1=José Javier|title=Juicio a Franco|date=2011|publisher=Libroslibres|location=Madrid|isbn=9788492654697|edition=1.}}</ref>
 
สงครามกลางเมืองสเปนได้เริ่มต้นขึ้นด้วยการก่อรัฐประหารโดยทหารสเปนบน peninsula (peninsulares) และในโมร็อกโกสเปน (africanistas) เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1936 การก่อรัฐประหารครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มที่เห็นชอบเป็นส่วนใหญ่ไปยังฝ่ายขวา ชนวนเหตุในสเปน รวมทั้งส่วนใหญ่ของเหล่าคณะนักบวชคาทอลิกของสเปน, กลุ่ม Falange และฝ่ายอัลฟอนซิสท์และฝ่ายคาลิสท์ที่นิยมกษัตริย์ การก่อรัฐประหารครั้งนี้ได้ขยายไปสู่สงครามกลางเมืองที่ยืดเยื้อเป็นเวลาสามปี เมื่อครั้งที่ฟาสซิสต์อิตาลีและ[[นาซีเยอรมนี]]ได้ตกลงกันที่จะให้การสนับสนุนฟรังโก ได้เริ่มต้นด้วยการขนส่งทางอากาศของ africanistas เข้าสู่แผ่นดินแม่<ref>Graham (2005), p. 24</ref> ฝ่ายสนับสนุนอื่นรวมทั้งระบอบ[[เอสตาโด โนโว]]ของ[[โปรตุเกส]]ภายใต้การนำโดย António de Oliveira Salazar ในขณะที่มีการเสนอตั้งชื่อของสงครามกลางเมืองครั้งนี้ว่าเป็น"สงครามครูเสด"<ref>Indalecio Prieto, ''Palabras al viento'', 2nd edn (Mexico City: Ediciones Oasis, 1969) pp. 247–8</ref>หรือ[[เรกองกิสตา]]ใหม่<ref>Eduardo González Calleja, "La violencia y sus discursos: los límites de la 'fascistización' de la derecha española durante el régimen de la II República", in ''Ayer. Revista de Historia Contemporánea'', No. 71, 2008, pp. 89–90</ref><ref>Eduardo González Calleja, 'Aproximación a las subculturas violentas de las derechas españolas antirrepublicanas españolas (1931– 1936)', ''Pasado y Memoria. Revista de Historia Contemporánea'', No. 2, 2003, pp. 107–42</ref><ref>Eduardo González Calleja, "The symbolism of violence during the Second Republic in Spain, 1931–1936", in Chris Ealham and Michael Richards, eds, ''The Splintering of Spain: Cultural History and the Spanish Civil War, 1936– 1939'' (Cambridge: Cambridge University Press, 2005) pp. 23–44, 227–30</ref> เพื่อดึงดูดความเห็นชอบของชาวคาทอลิกระดับสากลและการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครชาวไอริชคาทอลิก แม้ว่ารัฐบาลสหราชอาณาจักรมีความเห็นใจอย่างมาก<ref>Paul Preston, ''The Spanish Hall of costs: Inquisition and Extermination in 20th century Spain'' (2012), p. 295</ref><ref>Pablo de Azcárate, ''Mi embajada en Londres durante la guerra civil española'' (Barcelona: Ariel, 1976) pp. 26–7</ref><ref>[[Winston Leonard Spencer-Churchill|Winston S. Churchill]], ''Step by Step'' (London: Odhams Press, 1939) pp. 54–7.</ref>ต่อฝ่ายฟรังโก ในขณะที่แนวร่วมประชาชนของรัฐบาลฝรั่งเศสเกิดความร้อนใจที่จะให้การสนับสนุนสาธารณรัฐ ทั้งสองฝ่ายต่างเฝ้าสังเกตการณ์กับ[[ข้อตกลงการไม่เข้าแทรกแซงในสงครามกลางเมืองสเปน|ข้อตกลงที่จะไม่เข้าแทรกแซง]]ของเดือนตุลาคม ค.ศ. 1936 ตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 1936 [[สาธารณรัฐสเปนที่สอง 2]] ได้รับการสนับสนุนข้างหลังหนุนหลังโดย[[สหภาพโซเวียต]] (ในเวลาเดียวกันก็มีพันธมิตรร่วมอุดมการณ์เดียวกันของ[[สาธารณรัฐประชาชนตูวา]]และ[[สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย]]) และ[[เม็กซิโก]] แต่ให้ความช่วยเหลือที่น้อยกว่าที่ให้กัยกับฝ่ายชาตินิยมสเปน<ref name="Tierney2007">{{cite book|author=Dominic Tierney|title=FDR and the Spanish Civil War: Neutrality and Commitment in the Struggle that Divided America|url=https://books.google.com/books?id=y03JngvR2nwC&pg=PA62|accessdate=30 November 2012|date=11 June 2007|publisher=Duke University Press|isbn=978-0-8223-4055-3|page=63}}</ref>
 
สงครามกลางเมืองสเปนได้เริ่มต้นขึ้นด้วยการก่อรัฐประหารโดยทหารสเปนบน peninsula (peninsulares) และในโมร็อกโกสเปน (africanistas) เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1936 การก่อรัฐประหารครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มที่เห็นชอบเป็นส่วนใหญ่ไปยังฝ่ายขวา ชนวนเหตุในสเปน รวมทั้งส่วนใหญ่ของเหล่าคณะนักบวชคาทอลิกของสเปน, กลุ่ม Falange และฝ่ายอัลฟอนซิสท์และฝ่ายคาลิสท์ที่นิยมกษัตริย์ การก่อรัฐประหารครั้งนี้ได้ขยายไปสู่สงครามกลางเมืองที่ยืดเยื้อเป็นเวลาสามปี เมื่อครั้งที่ฟาสซิสต์อิตาลีและ[[นาซีเยอรมนี]]ได้ตกลงกันที่จะให้การสนับสนุนฟรังโก ได้เริ่มต้นด้วยการขนส่งทางอากาศของ africanistas เข้าสู่แผ่นดินแม่ ฝ่ายสนับสนุนอื่นรวมทั้งระบอบ[[เอสตาโด โนโว]]ของ[[โปรตุเกส]]ภายใต้การนำโดย António de Oliveira Salazar ในขณะที่มีการเสนอตั้งชื่อของสงครามกลางเมืองครั้งนี้ว่าเป็น"สงครามครูเสด"หรือ[[เรกองกิสตา]]ใหม่ เพื่อดึงดูดความเห็นชอบของชาวคาทอลิกระดับสากลและการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครชาวไอริชคาทอลิก แม้ว่ารัฐบาลสหราชอาณาจักรมีความเห็นใจอย่างมากต่อฝ่ายฟรังโก ในขณะที่แนวร่วมประชาชนของรัฐบาลฝรั่งเศสเกิดความร้อนใจที่จะให้การสนับสนุนสาธารณรัฐ ทั้งสองฝ่ายต่างเฝ้าสังเกตการณ์กับ[[ข้อตกลงการไม่เข้าแทรกแซงในสงครามกลางเมืองสเปน|ข้อตกลงที่จะไม่เข้าแทรกแซง]]ของเดือนตุลาคม ค.ศ. 1936 ตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 1936 สาธารณรัฐสเปนที่สองได้รับการสนับสนุนข้างหลังโดยสหภาพโซเวียต (ในเวลาเดียวกันก็มีพันธมิตรร่วมอุดมการณ์เดียวกันของ[[สาธารณรัฐประชาชนตูวา]]และ[[สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย]]) และเม็กซิโก แต่ให้ความช่วยเหลือที่น้อยกว่าที่ให้กัยฝ่ายชาตินิยมสเปน
 
== อ้างอิง ==