ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็ทมุนท์ ฮุสเซิร์ล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล ไปยัง เอ็ทมุนท์ ฮุสเซิร์ล: ˈɛtmʊnt ˈhʊsɐl
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขบางส่วน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9:
| death_date = {{Death date and age|df=yes|1938|04|27|1859|04|08}}
| death_place = [[ไฟรบวร์คอิมไบรส์เกา|ไฟรบวร์ค]], [[นาซีเยอรมนี|ประเทศเยอรมนี]] {{Flagicon|Nazi Germany}}
| education = [[มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช]]<br>(1876–1878)<br>[[มหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน|มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน]]<br>(1878–1881)<br>[[มหาวิทยาลัยเวียนนา]]<br>(1881–1883, 1884–1886)<br>[[Martin Luther University of Halle-Wittenberg|มหาวัทยาลัยฮัลเลอมหาวิทยาลัยฮัลเลอ]]<br>(1886–1887)
| institutions = มหาวัทยาลัยฮัลเลอมหาวิทยาลัยฮัลเลอ<br>[[มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน]]<br>[[มหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค]]
| school_tradition = [[ปรากฏการณ์วิทยา]]<br>[[Logical objectivism]]<ref>Penelope Rush, "Logical Realism", in: Penelope Rush (ed.), ''The Metaphysics of Logic'', Cambridge University Press, 2014, pp. 13–31.</ref>
| main_interests = [[ญาณวิทยา]], [[ภววิทยา]], [[ปรัชญาคณิตศาสตร์]]
| influences = [[Franz Brentano]], [[Carl Stumpf]], [[Karl Weierstrass]], [[Bernard Bolzano]], [[Benno Kerry]],<ref>Rollinger 1999, p. 126.</ref> [[René Descartes]], [[Immanuel Kant]], [[David Hume]], [[Hermann Lotze]], [[Wilhelm Windelband]],<ref name="Luft">Sebastian Luft (ed.), ''The Neo-Kantian Reader'', Routledge 2015, pp. 461–3461–3.</ref> [[Heinrich Rickert]],<ref name="Luft"/> [[ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์|Gottfried Wilhelm Leibniz]], [[Plato]]
| influenced = [[Max Scheler]], [[Martin Heidegger]], [[Adolf Reinach]], [[Edith Stein]], [[Emmanuel Levinas]], [[Jean-Paul Sartre]], [[Maurice Merleau-Ponty]], [[Alfred Schütz]], [[Roman Ingarden]], [[Paul Ricœur]], [[Kurt Gödel]], [[John Paul II]], [[Rudolf Carnap]], [[Jacques Derrida]], [[Leszek Kołakowski]], [[José Ortega y Gasset]], [[Eugen Fink]], [[Hans Blumenberg]], [[Bernard Stiegler]], [[Ludwig Landgrebe]], [[Marvin Farber]], [[Jan Patočka]], [[Dallas Willard]], [[Shaun Gallagher]], [[Dan Zahavi]], [[Nader El-Bizri]], [[Hans Köchler]], [[Hermann Weyl]], [[Gabriel Marcel]], [[Wilfrid Sellars]],<ref name="JROS">James R. O'Shea ''Wilfrid Sellars and His Legacy'', Oxford University Press, 2016, p. 4.</ref> [[Hilary Putnam]],<ref>[[Hilary Putnam]]. ''Realism with a Human Face''. Edited by James Conant. Harvard University Press. 1992. p. xlv.</ref> [[Gilbert Ryle]]<ref>Edmund Husserl, ''[[Logical Investigations (Husserl)|Logical Investigations]]'', Volume 1, Routledge & Keegan Paul, 2001: Introduction by Dermot Moran, p. lxiv: "Husserl ... visited England in 1922 intent on establishing relations with English philosophers ... He delivered a number of lectures which were attended by Gilbert Ryle..."</ref>
| notable_ideas =
}}
 
'''เอ็ทมุนท์ กุสทัฟ อัลเบร็ชท์ ฮุสเซิร์ล''' ({{lang-de|Edmund Gustav Albrecht Husserl}}) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันเชื้อสายออสเตรีย เขาเป็นผู้ก่อตั้งสำนัก[[ปรากฏการณ์วิทยา]] ทฤษฎีปรากฏการณ์วิทยาที่ฮุสเซิร์ลคิดขึ้นมาถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนอย่างยิ่งใหญ่ที่แยกออกจาก[[ปฏิฐานนิยม]] (positivism), [[ธรรมชาตินิยม]] (naturalism) และ[[วัตถุนิยม]] (materialism) อย่างสิ้นเชิง ฮุสเซิร์ลเห็นว่าแทนที่มนุษย์จะอธิบายบรรดาเหตุการณ์ต่างๆต่าง ๆ ที่อุบัติขึ้นในโลกแห่งชีวิตของเราโดยอาศัยกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป มนุษย์ควรจะพยายามทำความเข้าใจโครงสร้างความหมายของโลกแห่งชีวิตว่ามันประกอบขึ้นได้อย่างไร
 
โดยทฤษฎีปรากฎการปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ลนี้ การค้นหาความจริงที่ปรากฏอยู่โดยไม่มีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ผู้ศึกษาเป็นอิสระจากกรอบแนวคิดหรือทฤษฎี โดยให้บุคคลอธิบายเรื่องราวและประสบการณ์ต่างๆต่าง ๆ ที่ตนเองประสบพบเจอโดยตัดอคติและตัดความเอนเอียงในเรื่องที่ศึกษา รวมทั้งขจัดความคิดเห็นของตนออกจากสิ่งที่ตนเองกําลังศึกษา (bracketing) เน้นที่จุดมุ่งหมาย (intentionality) และสาระสําคัญ (essences) ที่บุคคลนั้นรับรู้มา
 
==อ้างอิง==