ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมมานูเอล คานต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 17:
| main_interests = [[ญาณวิทยา]], [[อภิปรัชญา]], [[จริยศาสตร์]]
| influences = [[Christian Wolff (philosopher)|Wolff]], [[Johannes Nikolaus Tetens|Tetens]], [[Francis Hutcheson (philosopher)|Hutcheson]], [[Sextus Empiricus|Empiricus]], [[Michel de Montaigne|Montaigne]], [[เดวิด ฮูม|ฮูม]], [[เรอเน เดส์การตส์|เดส์การตส์]], [[Nicolas Malebranche|Malebranche]], [[กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ|ไลบ์นิซ]], [[บารุค สปิโนซา|สปิโนซา]], [[จอห์น ล็อก|ล็อก]], [[จอร์จ บาร์กลีย์|บาร์กลีย์]], [[Jean-Jacques Rousseau|Rousseau]], [[ไอแซก นิวตัน|นิวตัน]], [[Emanuel Swedenborg]]
| influenced = [[Johann Fichte|Fichte]], [[Friedrich Schelling|Schelling]], [[Georgเกออร์ค Hegelวิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|Hegelเฮเกิล]], [[Arthur Schopenhauer|Schopenhauer]], [[Friedrich Nietzsche|Nietzsche]], [[Charles Peirce|Peirce]], [[เอ็ดมันด์มุนด์ ฮูเซิร์ลฮุสเซิร์ล|ฮุสเซิร์ล]], [[มาร์ติน ไฮเดกเกอร์|ไฮเดกเกอร์]], [[Ludwigลุดวิจ Wittgensteinวิทท์เกนชไตน์|Wittgensteinวิทท์เกนชไตน์]], [[ฌอง ปอล ซาร์ต|ซาร์ต]], [[Ernst Cassirer|Cassirer]], [[Jürgen Habermas|Habermas]], [[John Rawls|Rawls]], and many more
 
| notable_ideas = [[Categorical imperative]], [[Transcendental Idealism]], [[Synthetic proposition|Synthetic a priori]], [[Noumenon]], [[Sapere aude]]
บรรทัด 23:
}}
 
[[ไฟล์:Immanuel Kant (portrait).jpg|thumb|230px|อิมมานูเอิลอิมมานูเอล คานท์คานต์]]
'''อิมมานูเอล คานต์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 4, 2548, หน้า 164</ref> ({{lang-de|Immanuel Kant}}; [[22 เมษายน]] ค.ศ. [[พ.ศ. 2267]] - [[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2347]]) เป็น[[นักปรัชญา]][[ประเทศเยอรมนี|ชาวเยอรมัน]] จาก[[แคว้นปรัสเซีย]] ได้รับการยกย่องโดยทั่วไปว่า เป็นนักคิดที่มีอิทธิพลมากที่สุดของ[[ยุโรป]] และเป็น[[นักปรัชญา]]คนสำคัญคนสุดท้ายของ[[ยุคแสงสว่าง]] เขาสร้างผลกระทบที่สำคัญไปถึงนักปรัชญาสาย[[โรแมนติก (ปรัชญา)|โรแมนติก]]และสาย[[จิตนิยม]] ในสมัย[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] งานของเขาเป็นจุดเริ่มของ[[เกออร์กออร์ค วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกลเกิล|เฮเกลเกิล]]
 
คานต์เป็นที่รู้จักเนื่องจากแนวคิดของเขา ที่เรียกว่า[[จิตนิยมอุตรวิสัย]] ([[transcendental idealism]]) ที่กล่าวว่ามนุษย์ใช้[[มโนภาพแต่กำเนิด|แนวคิดบางอย่างที่ติดตัวมาแต่กำเนิด]] (innate idea) ในการรับรู้[[ประสบการณ์]]ที่เกิดขึ้นรอบตัวในโลก เรารับรู้โลกโดยผ่านทางประสาทสัมผัสประกอบกับมโนภาพที่ติดตัวมานี้ ดังนั้นเราจึงไม่สามารถล่วงรู้หรือเข้าใจใน "สรรพสิ่งที่แท้" ได้ ความรู้ต่อสรรพสิ่งที่เรามีนั้นจึงเป็นได้แค่เพียงภาพปรากฏ ที่เรารับรู้ได้ผ่านทางประสาทสัมผัสเท่านั้น
 
[[ญาณวิทยา]] (epistemology) หรือทฤษฎีความรู้ของคานต์นั้น เกิดขึ้นเพื่อแก้ความขัดแย้งระหว่างปรัชญาสาย[[เหตุผลนิยม]]ที่กล่าวว่า ความรู้สามารถสร้างขึ้นได้ไม่จำเป็นต้องใช้ประสบการณ์ กับปรัชญาสาย[[ประสบการณ์นิยม]]ที่กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารู้มีที่มาจากประสบการณ์ คานต์ได้เชื่อมแนวคิดที่ขัดแย้งกันทั้งสอง ดังคำกล่าวที่เขาเองเปรียบเปรยว่าเป็นการปฏิวัติแบบ[[โคเปอร์นิคัส]] (Copernical Revolution) โดยสรุปคร่าวๆคร่าว ๆ ได้เป็นประโยคขึ้นต้นของหนังสือ ''บทวิพากษ์ของการใช้เหตุผล'' (''Critique of Pure Reason'') ว่า "แม้ว่าความรู้ทั้งหมดที่เรามีจะมีจุดเริ่มต้นจากประสบการณ์ แต่นั่นมิได้หมายความว่าความรู้ทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นมาจากประสบการณ์"
 
ใน ''Critique of Pure Reason'' ยังได้นำเสนอเนื้อหาของหลักทาง[[ศีลธรรม]] ([[จริยศาสตร์]]) ที่ยังคงมีอิทธิพลต่อแนวความคิดด้าน[[จริยธรรม]]ของโลกตะวันตกมาจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนอาจกล่าวได้ว่าเขาเป็นบิดาแห่งแนวคิดเรื่อง[[สหประชาชาติ]] ดังที่ปรากฏในความเรียงว่าด้วยเรื่องสันติภาพถาวรของเขาได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศขึ้นเพื่อยุติความขัดแย้งและความโหดร้ายของ[[สงคราม]] กระทั่ง[[สันนิบาตชาติ]]และตามด้วย[[สหประชาชาติ]]ได้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน
 
== ประวัติ ==
เกร็ดประวัติชีวิตที่น่าสนใจของ[[นักปรัชญา]]ผู้นี้คือคานต์ เกิดและตายที่เมือง[[โคนิกสเบิร์กเคอนิจส์แบร์ก]] (Konigsberg) ทางตะวันออกของ[[ปรัสเซีย]] และดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]]ใน[[มหาวิทยาลัยโคนิกสเบิร์กเคอนิจส์แบร์ก]]ที่นั่น ทั้งชีวิตของเขาไม่เคยออกนอกเมืองดังกล่าวเลย แนวคิดของเขาส่งผ่านไปทั่วโลกโดยทางจดหมาย หลัก[[ศีลธรรม]]ของเขาไม่เพียงแต่ปรากฏในแผ่นกระดาษเท่านั้น แต่เขายังถือปฏิบัติอย่างจริงจังอีกด้วย เขาครองโสดตลอดชีวิต มีความเป็นอยู่อย่างสมถะ และไม่โอ้อวดในทางวิชาการ นอกจากนี้เขายังเป็นคนที่ตรงเวลามากอีกด้วย ทุกๆทุก ๆ วันเขาจะออกจากบ้านเวลาเดียวกันเสมอ กระทั่งมีคำกล่าวว่า หากเห็นคานท์คานต์ออกจากบ้านเมื่อใดก็สามารถนำเวลานั้นมาตั้งหน้าปัดนาฬิกาของตนเองได้
 
'''อิมมานูเอล คานต์''' มีชีวิตอยู่ในระหว่างรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ]] [[สมัยอยุธยา]] และรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] [[สมัยรัตนโกสินทร์]] คานท์คานต์ ถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 80 ปี
 
== อ้างอิง ==