ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอทีวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 41:
 
== ประวัติ ==
แนวคิดการก่อตั้งไอทีวี เกิดขึ้นในรัฐบาล[[อานันท์ ปันยารชุน|นายอานันท์ ปันยารชุน]] ภายหลังเหตุการณ์[[พฤษภาทมิฬ]] [[พ.ศ. 2535]] เนื่องจากในขณะเกิดเหตุการณ์ สื่อโทรทัศน์ จำนวน 5 ช่อง ในขณะนั้น คือ [[ช่อง 3]] [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5|ททบ.5]] [[ช่อง 7]] (BBTV) [[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.|ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]] [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย|สทท.]] มิได้รายงานข่าวเหตุการณ์นองเลือด ตามความเป็นจริง ประกอบกับมีเสียงเรียกร้องจากประชาชน ให้เปิดดำเนินการ[[สถานีโทรทัศน์]]เสรี ในระบบ[[ยูเอชเอฟ]] เพื่อให้คนไทยมีโอกาสได้รับรู้ข่าวสารที่ถูกต้องเป็นกลางอย่างแท้จริง
 
[[สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี]] (สปน.) โดย [[มีชัย วีระไวทยะ|นายมีชัย วีระไวทยะ]] ซึ่งเป็นผู้กำกับดูแลการเปิดสัมปทานสถานีโทรทัศน์ช่องใหม่ กำหนดเงื่อนไขของสัมปทานไว้ว่า ผู้รับสัมปทานจะต้องมีผู้ถือหุ้น 10 ราย แต่ละรายต้องมีสัดส่วนหุ้นที่เท่ากัน พร้อมกับแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน เพื่อป้องกันการผูกขาด และมีสัดส่วนเนื้อหารายการข่าวและสาระ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 และรายการบันเทิงไม่เกินร้อยละ 30
บรรทัด 49:
*กลุ่มผู้ผลิตรายการ ประกอบด้วย [[เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป|เครือเนชั่น]], [[บริษัท แปซิฟิค อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด|บจก.แปซิฟิค อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่นส์]] ของนายปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา โดยมี ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นผู้ควบคุมเนื้อหา, [[บริษัท มติชน จำกัด​ (มหาชน)|บมจ.มติชน]] และ [[บริษัท สามารถ คอร์เปอเรชั่น จำกัด​(มหาชน)|บมจ.สามารถ]] กลุ่มนี้ได้คะแนนเนื้อหาเป็นอันดับหนึ่ง แต่เสนอผลตอบแทนตามเกณฑ์ขั้นต่ำประมาณปีละ 500 ล้านบาท
 
ในปี พ.ศ. 2538 ผลการประมูล สรุปว่า กลุ่มบริษัท สยามทีวีแอนด์คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด ในเครือ[[ธนาคารไทยพาณิชย์]] ได้รับสัมปทานและได้รับอนุมัติให้เป็นผู้ดำเนินงานบริหารสถานีฯ เป็นเวลา 30 ปี (สิ้นสุดวันที่ [[3 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 25682569]]) โดยให้ออกอากาศทางช่อง 26 จาก สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (สปนอ.ส.ม.ท.) ค่าสัมปทาน 25,200 ล้านบาท จากราคากลาง 10,000 ล้านบาท และได้มีการลงนามในสัญญากับสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) เมื่อวันที่ [[3 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2538]] โดยมีนาย[[อภิลาศ โอสถานนท์]] ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ลงนามสัญญากับนาย[[เกษม จาติกวณิช]] ประธานกรรมการ และนาย[[โอฬาร ไชยประวัติ]] รองประธานกรรมการบริษัท สยาม อินโฟเทนเมนท์ จำกัด
 
ต่อมา ไอเอ็นเอ็น ดอกเบี้ย และตงฮั้วถอนตัวออกไป<ref>มติชนสุดสัปดาห์, 9-15 มีนาคม 2550, หน้า 22</ref> กลุ่มสยามอินโฟเทนเมนท์ จึงดึง[[เครือเนชั่น]] คู่แข่งที่เข้าร่วมประมูลแต่ไม่ได้รับเลือก เข้าร่วมทุนด้วย​ ดังนั้นจึงมีผู้ร่วมทุนทั้งหมดประกอบด้วย สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (ผ่าน สหศินิมา) เนชั่น​ กันตนา​ วัฏจักร​ เดลินิวส์​ ล็อกซ์เลย์ บอนด์​ และ​ไจแอนท์​
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไอทีวี"