133,949
การแก้ไข
{{ชีวประวัติ
|ชื่อตัว=
|ชื่อภาพ= Georg Simon Ohm3.jpg
|วันเกิด= [[16 มีนาคม ]] [[ค.ศ. 1787 ]]
|วันตาย= {{death date and age|df=yes|1854|7|27|1787|3|16}}
|คำบรรยายภาพ=
|ที่เกิด = [[แอร์ลังเงิน]] [[ราชรัฐไบร็อยท์]] [[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]
|ที่ตาย = [[มิวนิก]] [[ราชอาณาจักรบาวาเรีย]] [[สมาพันธรัฐเยอรมัน]]
|งาน-อาชีพ= [[นักฟิสิกส์]],
|สัญชาติ= [[ชาว
|เชื้อชาติ=
|ผลงาน= ค้นพบ[[
'''เกออร์ค ซีม็อน โอห์ม''' ({{lang-de|George Simon Ohm}}) เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1787 ที่เมือง[[แอร์ลังเงิน]]ใน[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] (ปัจจุบันอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ[[ประเทศเยอรมนี]]) เป็นนักฟิสิกส์ผู้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า
▲ผู้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า และเป็นผู้คิดค้นการคำนวณหาความต้านทานของเส้นลวดนำไฟฟ้าที่รู้จักกันโดยทั่วกันว่าเรียกว่า "กฎของโอห์ม (Ohm's Law)
== ประวัติ ==
แม้ว่าฐานะทางครอบครัวของโอห์มจะค่อนข้างยากจน
▲แม้ว่าฐานะทางครอบครัวของโอห์มจะค่อนข้างยากจน ถึงอย่างไรนั้นโอห์มก็ขวนขวายหาความรู้อยู่เสมอ โอห์มเข้าเรียนที่โรงเรียนรีลสคูลในแบมเบิร์ก หลังจากจบการศึกษาขั้นต้นแล้ว โอห์มได้เข้าศึกษาเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองเออร์แลงเกน (University of Erlangen) และต่อมาโอห์มก็ได้ลาออกจากมหาวิทยาลัย ขณะที่เขาศึกษาอยู่ในมหาลัยได้เพียง 3 เทอมเท่านั่น เหตุเพราะว่าโอห์มขาดทุนทรัพย์ ไม่มีเงินพอที่จะศึกษาต่อ เป็นเหตุที่ทำให้โอห์มต้องประกอบอาชีพเป็นครูตั้งแต่อายุเพียง 18 ปีเท่านั่น โอห์มเป็นครูสอนหนังสืออยู่ที่กอร์ทสตัดท์ (Gottstadt) ซึ่งอยู่ในเขตเมืองเบิร์น (Bern) ของสวิตเซอร์แลนด์ ช่วงแรกที่โอห์มเข้าทำงานเขาไม่ได้รับความไว้วางใจจากนายจ้าง เนื่องจากไม่เคยเห็นฝีมือการทำงานของโอห์มและเห็นว่าเขายังเด็กอายุน้อยเกินไป แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไปนายจ้างได้เห็นฝีมือการทำงานของโอห์มกลับเป็นบทพิสูจน์ว่าเขาเป็นผู้ที่มีความสามารถจนได้รับการยกย่อง ขณะที่โอห์มทำการสอนหนังสือเขาได้หมั่นฝึกฝนค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองอยู่เสมอ จนต่อมาเขาได้มีโอกาสเข้าไปศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเออร์แลงเกน (University of Erlangen) อีกครั้งหนึ่ง และได้รับปริญญาเอกทางด้านวิชาคณิตศาสตร์ในปี ค.ศ. 1811 ขณะนั่นยุโรปกำลังลุกเป็นไฟ เนื่องจากจักรพรรดินโปเลียนแห่งฝรั่งเศสกำลังเรืองอำนาจได้ยกกองทัพไปรุกรานประเทศที่ใกล้เคียง ทำให้แต่ละประเทศได้รับความเดือดร้อนไปทั่ว
▲แต่ล่ะประเทศร่วมมือกันเพื่อต่อต้านนโปเลียนหนึ่งในนั่นมีประเทศเยอรมันเข้าร่วมด้วย เป็นเหตุทำให้คนหนุ่มผู้รักชาติอย่าง จอร์จ ไซมอน โอห์ม พยายามที่จะเข้าสมัครไปเป็นทหารอาสาสมัครอยู่ในกองทัพต่อต้านนโปเลียน แต่ถูกบิดาของเขาต่อต้านเอาไว้ เพราะเห็นว่าความรู้ที่โอห์มมีจะมีประโยชน์แก่ประเทศชาติมากกว่าที่เขาจะไปออกรบทำศึก โอห์มเมื่อใคร่ครวญดูแล้วก็มีความเห็นตามคำแนะนำของบิดา เขาจึงกลับมาเป็นอาจารย์เช่นดังเดิม ค.ศ. 1817 โอห์มได้ทำการศึกษาค้นคว้าและพิมพ์ผลงานของเขาออกเผยแพร่ ปรากฏว่าผลงานของโอห์มเป็นที่โปรดปรานของกษัตริย์เฟรเดริคแห่งปรัสเซีย (King Frederick of Prussia) มาก จึงทรงแต่งตั้งให้โอห์มได้ดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ทำการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในคณะเยซูอิต (Jesuit College) แห่งมหาวิทยาลัยโคโลญ (Cologne)
== ผลงานและการค้นพบ ==
=== ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า
ในปี ค.ศ. 1822
#
#
# พื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดนำไฟฟ้า
ส่วนเรื่องที่เกี่ยวกับความยาวของเส้นลวดนำไฟฟ้าหมายความว่าถ้าเส้นลวดมีความยาวมากความต้านทานของไฟฟ้าก็จะมีมาก
ในเรื่องพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดก็เช่นเดียวกัน ถ้าพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดนำไฟฟ้ามีมาก กระแสไฟฟ้าก็สามารถไหลผ่านได้มากเพราะมีความต้านทานน้อย ถ้าพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดนำไฟฟ้ามีน้อย ความต้านทานไฟฟ้าจะมีมาก กระแสไฟฟ้าก็จะสามารถไหลผ่านได้น้อย จึงกล่าวสรุปได้ว่า การไหลเวียนของกระแสไฟฟ้าเป็นสัดส่วนตรงกับพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดนำไฟฟ้า
ระหว่าง
=== กฎของโอห์ม ===
ในปีต่อมา เขาได้
* I หมายถึง ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดนำไฟฟ้า
*
*
จากการทดลองนี้โอห์มได้พบว่า กระแสไฟฟ้าในเส้นลวดนำไฟฟ้าจะมีมากขึ้นถ้ามีแรงดันไฟฟ้ามาก และจะน้อยลงถ้าความต้านทานของลวดมากขึ้น
== ชีวิตหลังเผยแพร่ผลงาน ==
ผลงานของโอห์ม
เมื่อถูกไล่ออกจากงาน
ในขณะที่เขาทำงานอยู่ที่
แม้ว่าโอห์มจะไม่ได้รับการยกย่องในบ้านเกิดเมืองนอนของเขา
▲แม้ว่าโอห์มจะไม่ได้รับการยกย่องในบ้านเกิดเมืองนอนของเขา แต่ผลงานของโอห์มกลับได้รับความยกย่องในประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียง เช่นในฝรั่งเศสและอังกฤษ ในประเทศฝรั่งเศสถึงกับมีการสาธิตผลงานเรื่องกฎของโอห์มตั้งแต่ ค.ศ. 1831 ถึง ค.ศ. 1837 ส่วนในอังกฤษราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน (Royal Society of London) ได้มอบเหรียญรางวัลคอพลีย์ (Copley Medal) ให้แก่เขาในปี ค.ศ. 1841 ในฐานะที่เขาเป็นคนแรกที่ค้นพบกฎซึ่งมีสาระสำคัญอย่างยิ่งต่อวิชาไฟฟ้ากระแส และในปี ค.ศ. 1842 โอห์มก็รับเกียรติยศอันยิ่งใหญ่อีกครั้งหนึ่ง เพราะทางราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน (Royal Society of London) ได้รับคัดเลือกให้โอห์มเป็นสมาชิกชาวต่างประเทศที่มีความสามารถดีเด่นที่สุด
== วาระสุดท้ายของชีวิต ==
ถึงแม้ว่าโอห์มจะจากโลกนี้ไปแล้ว โลกก็ยังรำลึกถึงความสำคัญของเกออร์ค
== อ้างอิง ==
*http://world-scientist.blogspot.com/2011/11/george-simon-ohm.html
*http://personworld.exteen.com/20140905/george-simon-ohm▼
*http://www.metalionimport.com/product/electronic/210020-no-yx-360-trd.html▼
▲http://personworld.exteen.com/20140905/george-simon-ohm
*http://en.wikipedia.org/wiki/Georg_Ohm ▼
▲http://www.metalionimport.com/product/electronic/210020-no-yx-360-trd.html
▲http://en.wikipedia.org/wiki/Georg_Ohm
== บรรณานุกรม ==
* ทวี มุขธระโกษา.
* ศิริวรรณ คุ้มโห้. ''50 นักวิทยาศาสตร์เอกของโลก.
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2332]]
|
การแก้ไข