ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: เพิ่ม ค.ศ. เพิ่ม ข้อมูล เพิ่มรหัสเชื่อมบทความ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
|}
]]
[[ไฟล์:Metric_system.png|thumb|มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ [[ประเทศไลบีเรีย|ไลบีเรีย]], [[พม่า]] และ [[สหรัฐอเมริกาสหรัฐา]]]]
'''ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ''' หรือ '''ระบบเอสไอ''' ({{lang-en|International System of Units}}<ref>{{SIbrochure8th}}</ref>; {{lang-fr| Système international d'unités: SI}}<ref>[http://www.bipm.org/en/CGPM/db/11/12/ Resolution of the International Bureau of Weights and Measures establishing the International System of Units]</ref>) เป็นระบบการวัดที่ปรับปรุงมาจาก[[ระบบเมตริก]] โดยเน้นการสร้างมาจาก[[หน่วยฐานเอสไอ|หน่วยฐาน]]ทั้งเจ็ดหน่วยและใช้ระบบเลขฐานสิบ<ref>[http://www.bipm.org/en/si/base_units/ Official BIPM definitions]</ref> ซึ่งถือว่าเป็นระบบการวัดที่ใช้แพร่หลายที่สุดในโลกทั้งในชีวิตประจำวันและทาง[[วิทยาศาสตร์]]
 
ระบบเมตริกแต่เดิมนั้นแบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม โดยระบบเอสไอได้รับการพัฒนามาจาก[[ระบบหน่วยเมตร-กิโลกรัม-วินาที]] (meter-kilogram-second: MKS) ในปี ค.ศ. 1960 และได้ปรับเปลี่ยนนิยามรวมถึงเพิ่มลดหน่วยฐานเอสไอมาตลอดตามการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการวัด เพื่อเพิ่มความเที่ยงตรงในการวัดมากขึ้น
 
ระบบเอสไอเป็นระบบที่ใช้กันเกือบทั้งโลก มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ [[ประเทศไลบีเรีย|ไลบีเรีย]] [[พม่า]] และ [[สหรัฐอเมริกา]] แม้ใน[[อังกฤษ]]เองได้ยอมรับให้ใช้ระบบเอสไออย่างเป็นทางการ แม้ว่าจะไม่สามารถทดแทนระบบดั้งเดิมได้ทั้งหมด
 
== ประวัติ ==
ระบบเมตริกถือกำเนิดขึ้นจากการรวบรวมหน่วยวัดต่าง ๆ โดยกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการจาก[[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส]]และ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]] ให้สร้างระบบการวัดที่เป็นสากลและเหมาะสม<ref>{{Cite web|url=http://www1.bipm.org/en/si/history-si/name_kg.html|title=The name kilogram"|accessdate=25 July 2006}}</ref> (ซึ่งหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์กลุ่มนั้นคือ [[อ็องตวน ลาวัวซีเย]] ผู้ได้รับฉายาว่าเป็น "บิดาแห่งเคมีสมัยใหม่") ในวันที่ [[1 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1793]] [[สมัชชาแห่งชาติฝรั่งเศส]] ได้ให้นิยามของหน่วย[[เมตร]]ใหม่และกำหนดความยาวมาตรฐานรวมถึงหน่วยวัดฐานสิบอื่น ๆ ในวันที่ [[7 เมษายน]] [[ค.ศ. 1795]] ได้กำหนดหน่วยวัดมาตรฐานไว้ห้าหน่วยในกฎหมาย "''Loi du 18 germinal, an III"'' ได้กำหนดนิยามของหน่วย[[กรัม]] ขึ้นมาแทนหน่วย "grave" ที่มีอยู่แต่เดิม จนในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1799 (ภายหลังการรัฐประหารของ[[นโปเลียน]] 1 เดือน) ระบบเมตริกใน[[ฝรั่งเศส]]ก็ใช้ได้อย่างสมบูรณ์
 
[[ไฟล์:Metrication by year map.svg|thumb|350px|right|ปีที่แต่ละประเทศเปลี่ยนมาใช้ระบบเมตริก]]
 
ความต้องการในการร่วมมือระหว่างประเทศในด้าน[[มาตรวิทยา]]นำไปสู่การเซ็นสนธิสัญญาเมตริก [[20 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2418]] ([[ค.ศ. 1875]]) ที่กรุง[[ปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] ซึ่งทำให้เกิดการจัดตั้ง[[สำนักงานชั่ง ตวง วัดระหว่างประเทศ]] (BIPM) เพื่อกำหนดหน่วยวัดสากล คณะกรรมการ[[คณะกรรมการมาตรวิทยาสากล]] (CIPM) และ[[การประชุม[[มาตรวิทยาระหว่างประเทศ]] (CGPM) ซึ่งจัดประชุมทุก ๆ 4 - 4–6 ปี
 
หลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ระบบมาตรวัดยังคงไม่เป็นมาตรฐาน ทั้งความหลากหลายที่เกิดจากระบบเมทริกเอง และความหลากหลายที่เกิดจากระบบมาตรวัดแบบดั้งเดิม ในการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 9 ในปี ค.ศ. 1948 จึงกำหนดให้คณะกรรมการมาตรวิทยาสากลสร้างหลักสูตรการศึกษาทางด้านมาตรวิทยาในระดับสากลขึ้นเพื่อใช้ในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการศึกษา
 
เพื่อที่จะสร้างหลักสูตรนี้ การประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 10 จึงเห็นสมควรที่จะสร้างระบบสากลขึ้นมาจากหน่วยฐานทั้งหก โดยเพิ่มการวัดอุณหภูมิและการส่องสว่างจากแต่เดิมที่สร้างหน่วยวัดแค่ระบบ[[กลศาสตร์]]และ[[แม่เหล็กไฟฟ้า]] ได้แก่ [[เมตร]] [[กิโลกรัม]] [[วินาที]] [[แอมแปร์]] องศา[[เคลวิน]] (ซึ่งภายหลังได้ตัดคำว่า "องศา" ทิ้งไป) และ [[แคนเดลา|"แคนเดลา"]] การประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 11 ปี ค.ศ. 1960 จึงได้กำหนดชื่อระบบใหม่นี้ว่า "ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ" หรือที่ย่อเป็น "ระบบเอสไอ" จากชื่อระบบในภาษาฝรั่งเศสที่ว่า "''Système international d'unités"'' และมีการเพิ่มหน่วย "[[โมล]]" เข้าเป็นหน่วยฐานในการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 14 ปี ค.ศ. 1971
 
== ระบบที่เกี่ยวข้อง ==
บรรทัด 95:
เราสามารถสร้าง[[หน่วยอนุพันธ์เอสไอ]]ได้ไม่จำกัดจากการนำ[[หน่วยฐานเอสไอ]]ทั้งเจ็ดมาคูณหรือหารกัน ตัวอย่างเช่นหน่วยอนุพันธ์ของเอสไอเกี่ยวกับความเร็วคือเมตรต่อวินาที (m/s) หน่วยอนุพันธ์บางหน่วยอาจมีชื่อเฉพาะเนื่องจากมีการใช้บ่อย ๆ เช่นโอห์ม หน่วยของความต้านทานซึ่งมีสัญลักษณ์ Ω สามารถนิยามได้จาก Ω&nbsp;=&nbsp;m<sup>2</sup>·kg·s<sup>−3</sup>·A<sup>−2</sup> อันมีผลมาจากนิยามเกี่ยวกับ[[ความต้านทานไฟฟ้า]]โดยตรง
 
มีหน่วยพิเศษสองหน่วยคือ[[เรเดียน]]และ[[สเตอเรเดียน]] ที่เดิมถูกกำหนดให้เป็นหน่วยเสริม (Supplementsupplement Unitunit) ของระบบเอสไอ แต่ภายหลังได้รับการยกเลิกและจัดเป็นหน่วยอนุพันธ์ประเภทหนึ่งที่ไร้มิติ (Dimentionlessdimensionless) กล่าวคือไม่มีหน่วยแทน
 
[[คำนำหน้าหน่วยเอสไอ]]เป็นคำที่ใช้เติมข้างหน้าหน่วยเอสไอเพื่อสร้างพหุคูณของหน่วยเอสไอเดิม พหุคูณของหน่วยเอสไอจะเป็นสิบยกกำลังด้วยจำนวนเต็มเท่าต่าง ๆ และนอกเหนือจากสิบเท่า ร้อยเท่า ส่วนสิบเท่า และส่วนร้อยเท่าแล้วจะเป็นพหุคูณของพันเท่าและส่วนพันเท่าทั้งหมด
บรรทัด 197:
* สัญลักษณ์ของหน่วยจะไม่เป็นพหูพจน์เช่น "25&nbsp;kg" ไม่ใช่ "25&nbsp;kgs".<ref name="BIPM2006Ch5" />
* มติในการการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศปี ค.ศ. 2003 กำหนดให้สัญลักษณ์ของแยกทศนิยมเป็นจุดมหัพภาค (.) หรือจุลภาค (, ) ก็ได้ โดยส่วนมากแล้วในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษและประเทศในเอเซียส่วนใหญ่มักใช้จุดมหัพภาค (.) แต่ประเทศในยุโรปภาคพื้นทวีปหลายประเทศมักใช้จุลภาค (, )
* เราสามารถใช้การเว้นวรรคในการแยกเลขหลักพันเช่นหนึ่งล้านสามารถเขียนได้เป็น 1,000,000 เพื่อให้ต่างจากการใช้จุลภาคหรือมหัพภาคในการแยกทศนิยม และเพื่อให้แตกต่างจากประเทศที่ใช้การเว้นวรรคในการแยกคำ วรรคที่ใช้ในการแยกเลขหลักพันจะเล็กกว่าวรรคที่ใช้แยกคำเล็กน้อย (thin space)
 
== อ้างอิง ==