ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลบท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ธรรมาดา แก้เป็น ธรรมดา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''กลบท''' คือการประดิษฐ์คิดแต่งคำประพันธ์ให้มีลักษณะแปลกไปจากเดิม โดยที่ลักษณะบังคับของคำประพันธ์ชนิดนั้นยังอยู่ครบถ้วน คำประพันธ์ที่แต่งเป็นกลได้มีทั้ง [[โคลง]] [[ฉันท์]] [[กาพย์]] [[กลอน]] และ[[ร่าย]]<ref name=utai>อุทัย สินธุสาร. '''สารานุกรมไทย'''. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ, 2516.</ref>
 
กลบทเป็นเครื่องแสดงสติปัญญาของกวีในการที่จะคิดค้นพลิกแพลงกวีนิพนธ์แบบฉบับให้มีลักษณะเด่นเป็นพิเศษขึ้น โดยการเพิ่มลักษณะบังคับต่าง ๆ และเป็นเครื่องลับสมองลองปัญญาในหมู่กวีด้วยกัน ในการที่จะพยายามถอดรูปกลแบบที่ซ่อนไว้ให้สำเร็จ ผลพลอยได้คือความไพเราะของกวีนิพนธ์ แต่ก็มีกลบทจำนวนไม่น้อยที่ไพเราะสู้คำประพันธ์ธรรมาดาธรรมดาไม่ได้ เนื่องจากลักษณะบังคับที่เพิ่มมาอาจจะไม่เอื้ออำนวยต่อความไพเราะ ตัวอย่าง เช่นกลบทบังคับใช้คำตายทุกคำ เป็นต้น<ref name=supaporn>สุภาพร มากแจ้ง. '''กวีนิพนธ์ไทย 1'''. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2535.</ref>
 
== การจำแนกแบบของกลบท ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กลบท"