ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นใยคาร์บอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DessertSweet (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บรายละเอียด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
คุณสมบัติของเส้นใยคาร์บอนคือ มีความแข็งแรงสูง ต้านทานแรงดึงสูง น้ำหนักเบา ทนต่อสารเคมีสูง ทนต่ออุณหภูมิสูง และอัตราการขยายตัวต่อความร้อนต่ำ เส้นใยคาร์บอนจึงเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมมากในอุตสาหกรรมการบินและวิศวกรรมอวกาศ การทหาร<ref name="nida"/> มอเตอร์สปอร์ต และการแข่งขันกีฬาอื่นๆ<ref>[http://www.science.up.ac.th/cimtscience/resources-user/docs/Materials%20Applications%20for%20Sport.pdf สไลด์การสอนเรื่อง การประยุกต์ใช้งานวัสดุทางเทคโนโลยีการกีฬา โดยผศ.ดร.อนุรักษ์ ประสาทเขตร์การ จากเว็บไซต์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา] สืบค้นวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557</ref> แต่เส้นใยคาร์บอนมีราคาค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับเส้นใยชนิดอื่น อาทิ เส้นใยแก้วหรือเส้นใยพลาสติก
 
เส้นใยคาร์บอนมักจะใช้ร่วมกับวัสดุอื่นๆ ในรูปแบบ[[วัสดุผสม|คอมโพสิท]] ซึ่งจะเรียกว่า "คาร์บอนไฟเบอร์เสริมโพลิเมอร์" แต่มักจะเรียกสั้นๆ ว่า "คาร์บอนไฟเบอร์" มากกว่า ซึ่งมีอัตราส่วนความแข็งแรงต่อน้ำหนักที่สูงมากและมีความแข็งมากแม้ว่าจะค่อนข้างเปราะเปาะ อย่างไรก็ตามเส้นใยคาร์บอนจะประกอบด้วยวัสดุอื่นๆ เช่นเดียวกับแกรไฟต์ในรูปแบบคาร์บอน-คาร์บอนซึ่งมีความทนทานต่อความร้อนสูงมาก<ref>[http://file.snru.ac.th/download.aspx?NFILE=TEACHER_129_12092012143433977.pptx สไลด์การสอนเรื่อง วัสดุคอมโพสิท จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร] สืบค้นวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557</ref><ref>[http://www.physics.kku.ac.th/315205/sites/default/files/chapter10.pdf เอกสารประกอบการสอนเรื่อง นิยามของคอมโพสิต โดยผศ.ดร.สุภาสินี ลิมปานุภาพ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น] สืบค้นวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==