ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารานุกรมบริแทนนิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ลบวรรคตามหลักเกณฑ์การเว้นวรรค
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
'''สารานุกรมบริตานิกา''' ({{lang-en|Encyclopædia Britannica}}) เป็น[[สารานุกรม]][[ภาษาอังกฤษ]] ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc. ซึ่งเป็นบริษัทเอกชน บทความภายในสารานุกรมบริตานิกาเน้นที่การให้ความรู้แก่ผู้อ่านวัยผู้ใหญ่ เขียนขึ้นจากทีมงานที่ประกอบด้วยบรรณาธิการที่ทำงานเต็มเวลากว่า 100 คน และผู้เขียนบทความซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญมากกว่า 4,000 คน เป็นสารานุกรมที่ได้รับความนิยมและใช้อ้างอิงทางวิชาการมากที่สุด<ref name="kister_1994">{{cite book | last = Kister | first = KF | authorlink = Kenneth Kister | year = 1994 | title = Kister's Best Encyclopedias: A Comparative Guide to General and Specialized Encyclopedias | edition = 2nd | publisher = Oryx Press | location = Phoenix, AZ | isbn=0897747445}}</ref><ref name="sader_1995">{{cite book | last = Sader | first = Marian | coauthors = Lewis, Amy | year = 1995 | title = Encyclopedias, Atlases, and Dictionaries | publisher = R. R. Bowker (A Reed Reference Publishing Company) | location = New Providence, NJ | isbn = 0-8352-3669-2}}</ref>
 
สารานุกรมบริตานิกาเป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังตีพิมพ์อยู่จนถึงปัจจุบัน<ref name="EB_encyclopedia">{{cite encyclopedia | title = Encyclopedias and Dictionaries | encyclopedia = Encyclopædia Britannica | edition= 15<sup>th</sup> edition | publisher = Encyclopædia Britannica, Inc. | year = 2007 | volume = 18 | pages = 257–286}}</ref> โดยตีพิมพ์เป็นครั้งแรกระหว่างปี [[ค.ศ. 1768]] และ [[ค.ศ. 1771|1771]] ที่เมือง[[เอดินเบอระ]] [[สก็อตแลนด์]] และเติบโตทั้งขนาดและความนิยมมาเป็นลำดับ ฉบับแก้ไขครั้งที่สามในปี ค.ศ. 1801 มีการตีพิมพ์เป็นจำนวนมากกว่า 21 เล่มชุด<ref name="kogan_1958">{{cite book | last = Kogan | first = Herman | year = 1958 | title = The Great EB: The Story of the Encyclopædia Britannica | publisher = The University of Chicago Press | location = Chicago | id = {{LCCN|58|00|8379}}}}</ref><ref name="encyclopedia_1954" /> (คือมี 21 เล่มใน 1 ชุด) ผลจากการเติบโตอย่างต่อเนื่องทำให้เป็นที่สนใจของนักเขียนบทความเพิ่มมากขึ้น ในการปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 9 (1875-1889) และครั้งที่ 11 (1911) ถือเป็นสารานุกรมฉบับที่โดดเด่นที่สุดสำหรับนักวิชาการและผู้ชื่นชอบวรรณศิลป์<ref name="kogan_1958" /> นับแต่ฉบับปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 11 เป็นต้นมา สารานุกรมบริตานิกาก็เริ่มเขียนบทความให้สั้นลงและกระชับขึ้นเพื่อเข้าสู่ตลาดในอเมริกาเหนือ<ref name="kogan_1958" /> ปี ค.ศ. 1933 สารานุกรมบริตานิกาเป็นสารานุกรมแห่งแรกที่ประกาศนโยบาย "การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง" โดยมีการพิมพ์ซ้ำและปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาในบทความให้ทันสมัยอยู่ตลอดตามตารางกำหนดเวลาที่แน่นอน<ref name="encyclopedia_1954">{{cite encyclopedia | year = 1954 | title = Encyclopædia | encyclopedia = Encyclopædia Britannica | edition= 14<sup>th</sup> edition}} Aside from providing an excellent summary of the ''Britannica's'' history and early spin-off products, this article also describes the life-cycle of a typical ''Britannica'' edition. A new edition typically begins with strong sales that gradually decay as the encyclopaedia becomes outdated. When work on a new edition is begun, word leaks out and sales of the old edition effectively stop, just at the time when the fiscal needs are greatest: a new editorial staff must be assembled, articles commissioned, etc. [[Elkan Harrison Powell]] identified this cyclic fluctuation of income as a key danger to the fiscal health of any encyclopaedia, one that he hoped to overcome with his innovative policy of continuous revision.</ref>
 
ฉบับพิมพ์ปัจจุบันและฉบับสุดท้ายเป็นฉบับปรับปรุงครั้งที่ 15 ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน ส่วนแรกมี 12 เล่มชุด ชื่อ ''Micropædia'' เป็นบทความสั้น (ส่วนมากมีความยาวน้อยกว่า 750 คำ) ส่วนที่สองมี 17 เล่มชุด ชื่อ ''Macropædia'' เป็นบทความยาว (มีความยาวตั้งแต่ 2 ถึง 310 หน้าต่อบทความ) และส่วนสุดท้ายเป็นเอกเทศชื่อ ''Propædia'' จัดทำเพื่อเรียบเรียงความรู้ของมนุษยชาติในรูปแบบโครงสร้างลำดับชั้น วัตถุประสงค์ของ ''Micropædia'' มีเพื่อการตรวจสอบอย่างรวดเร็วและช่วยในการค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมใน ''Macropædia'' ผู้อ่านสามารถศึกษาโครงสร้างบทความใน ''Propædia'' ก่อนก็ได้เพื่อทำความเข้าใจกับบริบทของเรื่องที่ต้องการศึกษาและจะได้ค้นหาส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องได้ง่าย<ref name="propedia_preface">{{cite book | year = 2007 | title = The New Encyclopædia Britannica | edition= 15<sup>th</sup> edition, ''Propædia''| pages = 5–8}}</ref> สารานุกรมบริตานิกามีขนาดค่อนข้างคงที่มาตลอดเวลากว่า 70 ปี โดยมีความยาวประมาณ 40 ล้านคำ จำนวนบทความประมาณ 500,000 เรื่อง<ref name="index_preface">{{cite book | year = 2007 | title = The New Encyclopædia Britannica | edition= 15<sup>th</sup> edition, ''Index'' preface}}</ref> หลังจากปี ค.ศ. 1901 ฐานการตีพิมพ์ก็ย้ายมายัง[[สหรัฐอเมริกา]] แต่กระนั้นสารานุกรมบริตานิกายังคงยึดหลักการสะกดคำตามแบบอังกฤษดั้งเดิมอย่างเคร่งครัด<ref name="kister_1994" />