ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นามูเมียวโฮเร็งเงเกียว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
คริสตชนนิรนาม (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการทับศัพท์ญี่ปุ่น
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Sadoshiken nichiken.jpg|thumb|ตัวอย่างของ "โกะโกฮนซน" (御本尊) [[มัณฑละ]]อักษรภาพซึ่งมีมนต์ "นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียว" เป็นประธานหลักของมัณฑละ]]
'''''นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวนามูเมียวโฮเร็งเงเกียว''''' หรือ '''''นัมเมียวโฮเร็งเงะเคียวนัมเมียวโฮเร็งเงเกียว''''' ({{nihongo|南無妙法蓮華経||Namu Myōhō Renge Kyō, Nam Myōhō Renge Kyō}})<ref>SGDB 2002, [http://www.sgilibrary.org/search_dict.php?id=1492 Namu]</ref> เป็น[[บทสวดมนต์ในศาสนาพุทธ|มนต์]]ที่ใช้สวดเป็นบทหลักใน[[ศาสนาพุทธ]]นิกาย[[นิชิเร็ง]] มีความหมายว่า "ขอนอบน้อมแด่[[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]]"<ref>SGDB 2002, [http://www.sgilibrary.org/search_dict.php?id=1321 Lotus Sutra of the Wonderful Law]</ref><ref>Kenkyusha 1991</ref> มนต์นี้ถูกอ้างอิงถึงในชื่อ ไดโมะคุโมกุ (題目)<ref>Kenkyusha 1991</ref> หรือเรียกอย่างยกย่องว่า โอไดโมะคุโมกุ (お題目) ซึ่งได้มีการเผยแพร่ครั้งแรกโดย[[พระนิชิจิเร็ง]] [[พระภิกษุ]]ใน[[ศาสนาพุทธ]][[ชาวญี่ปุ่น]] เมื่อวันที่ 28 เดือนสี่ทางจันทรคติญี่ปุ่น [[ค.ศ. 1253]] ณ วัดเซโชจิ (หรือที่เรียกกันว่า คิโยะซุมิ-เดะระคิโยซูมิเดระ) ใกล้เมืองโคะมินะโตะโคมินาโตะ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมือง[[คะโมะงะวะคาโมงาวะ]] [[จังหวัดชิบะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]<ref>Anesaki 1916, p.34</ref><ref>SGDB 2002, [http://www.sgilibrary.org/search_dict.php?id=1526 Nichiren]</ref> พิธีสวดไดโมะคุโมกุนั้นเรียกว่า "โชได" (唱題) มีจุดมุ่งหมายเพื่อการตรัสรู้เข้าถึงพุทธภาวะได้โดยสมบูรณ์ในภพปัจจุบัน
 
== ความหมาย ==
บรรทัด 6:
มนต์ดังกล่าวมีความหมายโดยแยกศัพท์ดังนี้
 
* ''นะนามุ'' (南無 - เสียงอาจกร่อนลงเป็น "นัม") มาจากศัพท์สันสกฤต ''นมสฺ'' (อ่านว่า /นะ-มัส/) หมายถึง นอบน้อม
* ''เมียว'' (妙) หมายถึง ความแปลก, ความลึกลับ, ความอัศจรรย์, ความฉลาดเฉียบแหลม
* ''โฮ'' (法) หมายถึง กฎ, หลักการ, แนวคิด ตรงกับคำว่า "ธรฺม" ในภาษาสันสกฤต
บรรทัด 19:
== ดูเพิ่ม ==
* [[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]]
* [[นิชิจิเร็ง]]
* [[พระนิชิจิเร็ง]]
* [[ไดโงะฮนซง|โกะฮนซนโงฮนซง]]
 
== เชิงอรรถ ==