ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 57:
# ส่งทีมฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลอุตสาหกรรมสมุทรปราการอย่างต่อเนื่องผลงานในแข่งขันฟุตบอลอุตสาหกรรมสมุทรปราการ
 
และในปี 2543 จึงได้จัดตั้งเป็นชมรมฟุตบอลไทยฮอนด้าอย่างเป็นทางการ และเริ่มตันเริ่มต้นส่งทีม เข้าร่วมการแข่งขันของ [[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] โดยส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขัน [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.|ถ้วย ง]] และได้จัดตั้งเป็น ''สมาคมกีฬาไทยฮอนด้า'' โดยมีวัตถุประสงค์คือ
 
# เป็นองค์กรที่สังคมให้ดำรงอยู่โดยช่วยเหลือกิจกรรมสังคมด้านกีฬา
# เป็นแหล่งที่ทำให้ พนักงานเป็นหนึ่งเดียวกัน มีมุมมองแนวคิดร่วมกัน โดยพัฒนาจากการแข่งขันด้านกีฬาฟุตบอลและกีฬาประเภทอื่น
 
=== 2545 - 2548 ===
 
ต่อมาในปี 2545 สโมสรได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ และสามารถเลื่อนชั้นไปถึง ไทยลีก ไดได้ปีต่อปี ภายในเวลา 4 ปีนับตั้งแต่ ปี 2545 - 2548 (รองชนะเลิศ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.|ถ้วย ง]] ปี 2545, ชนะเลิศ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.|ถ้วย ค]] ปี 2546 ,ชนะเลิศ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.|ถ้วย ข]] ปี 2547 และได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ [[ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2548|ดิวิชั่น 1 ปี 2548]]) และกลายเป็นสโมสรจากกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์สโมสรแรกที่ได้ลงแข่งขันใน [[ไทยลีก]] โดยมี ชวลิต ไวทยานนท์ เป็นผู้จัดการทีม และได้อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย อย่าง [[เฉลิมวุฒิ สง่าพล]] และ [[พิชัย คงศรี]] เป็นทีมงานผู้ฝึกสอน แต่ผลงานของสโมสร กลับไม่ดีอย่างที่คิด โดยจบอันดับในโซนท้ายตารางสองปีติดต่อกัน และ ตกชั้นใน [[ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2550|ไทยลีก ปี 2550]]
 
=== ดิวิชั่น 1 ===
 
ในช่วงสองปีแรกหลังการตกชั้นจากลีกสูงสุด ผลงานของสโมสรไม่ดีหนัก โดยใน [[ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2551|ดิวิชั่น 1 ปี 2551]] สโมสรจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 13 จาก 16 ซึ่งตกชั้น แต่ ในปีถัดมา ([[ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2552|ฤดูกาล 2552]]) ทาง สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ มีมติหาสโมสรแทน [[สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ|สโมสรธนาคารกรุงเทพ]] ที่ไม่ได้ส่งทีมเข้าแข่งขัน สโมสรเลยได้สิทธิอีกครั้งในการอยู่รอด ซึ่งก็เพลย์ออฟ ชนะ [[สโมสรฟุตบอลนครสวรรค์|สโมสรนครสวรรค์ เอฟซี]] แต่ผลงานของสโมสรก็ยังไม่ดีขึ้น จนตกชั้นใน [[ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2554|ดิวิชั่น 1 ปี 2554]] ซึ่งในระหว่างนั้น มีนักฟุตบอลหลายๆคน ได้ลงเล่นให้กับสโมสร เช่น [[ปกเกล้า อนันต์]]
 
ขณะเดียวกัน ในปี 2553 ทางสโมสรก็ได้มีการเปลื่ยนแปลงตราสัญลักษณ์ของสโมสรที่ใช้มาตั้งแต่ก่อตั้ง เป็นรูป "วิงมาร์ค" มาสื่อความหมายถึงแบรนด์ฮอนด้า ซึ่งนำมารวมกับรูป "วิหคเพลิง" เป็นการสื่อความหมายถึงความมีพลังอันกล้าแกร่ง เป็นอมตะ นิรันดร ไม่มีวันตาย รวมไปถึงเปลื่ยนฉายาของสโมสรเป็น "พญาอินทรี"
บรรทัด 100:
| {{coord|13.730347|100.772122|format=dms|type:landmark_scale:3000}}
| [[เขตลาดกระบัง|ลาดกระบัง]]
| [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|สนามกีฬาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]
| 2554, 2556-2557
|-