ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิตไร้สำนึก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''จิตไร้สำนึก''' ({{lang-en|unconscious mind}}) ประกอบด้วยกระบวนการในจิตซึ่งเกิ...
 
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{แก้ไข}}}]]กิจกรรมส่วนบุคคล"
ป้ายระบุ: ถูกแทน แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{แก้ไข}}}]]กิจกรรมส่วนบุคคล
'''จิตไร้สำนึก''' ({{lang-en|unconscious mind}}) ประกอบด้วยกระบวนการใน[[จิต]]ซึ่งเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติและไม่สามารถ[[การพินิจภายใน|พินิจภายใน]]ได้ มีกระบวนการคิด ความจำ อารมณ์และแรงจูงใจ แม้กระบวนการเหล่านี้มีอยู่ใต้ผิวของความตระหนัก[[พิชาน]] (conscious) แต่มีทฤษฎีว่า จิตไร้สำนึกส่งอิทธิพลต่อพฤติกรรม คำนี้บัญญัติโดย ฟรีดริช เชลลิง นักปรัชญาจินตนิยมชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 และภายหลังเซมาเอล เทย์เลอร์ โคละริดจ์ กวีและผู้เขียนงานประพันธ์ นำเข้ามาในภาษาอังกฤษ [[ซิกมุนด์ ฟรอยด์]] นักประสาทวิทยาและนัก[[จิตวิเคราะห์]]ชาวออสเตรียพัฒนาและเผยแพร่มโนทัศน์ดังกล่าว หลักฐานเชิงประจักษ์แนะว่า ปรากฏการณ์ไร้สำนึกมีความรู้สึกที่ถูกกดเก็บ ทักษะอัตโนมัติ สัญชานใต้ระดับ (subliminal perception) ความคิด นิสัยและปฏิกิริยาอัตโนมัติ และอาจยังมีปม (complex) ความกลัวและความปรารถนาที่ซ่อนอยู่ ในทฤษฎี[[จิตวิเคราะห์]] เข้าใจว่ากระบวนการไร้สำนึกแสดงออกใน[[ฝัน]]ในรูปสัญลักษณ์ เช่นเดียวกับการพลั้งปาก (slips of the tongue) และ[[มุกตลก]] ฉะนั้น จึงมองได้ว่าจิตไร้สำนึกเป็นบ่อเกิดของฝันและความคิดอัตโนมัติ (ที่ปรากฏโดยไม่มีสาเหตุชัดเจน) คลังความจำที่ถูกลืม (ซึ่งยังอาจเข้าถึงพิชานในภายหลัง) และที่ตั้งของความรู้โดยปริยาย (implicit knowledge, หมายถึง สิ่งที่สิ่งที่เรียนรู้มาอย่างดีจนทำได้โดยไม่ต้องคิด)
 
[[หมวดหมู่:จิตไร้สำนึก]]
[[หมวดหมู่:จิตวิทยาวิเคราะห์]]
[[หมวดหมู่:ระบบประสาทส่วนกลาง]]
[[หมวดหมู่:กระบวนการทางจิต]]
[[หมวดหมู่:จิตวิทยาแบบฟรอยด์]]