ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเมจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ชิโมะโนะเซะกิ" → "ชิโมโนเซกิ" +แทนที่ "เอะโดะ" → "เอโดะ" +แทนที่ "เคียวโตะ" → "เกียวโต" +แทนที่ "ทะคะโมะริ" → "ทากาโมริ" +แทนที่ "โอกุโบะ" → "โอกูโบะ" +แทนที่ "โทะชิมิชิ" → "โทชิมิชิ" +แทนที่ "ทะกะโมะริ" → "ทากาโมริ" +แทนที่ "มุสึฮิโตะ" → "มุตสึฮิโตะ" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โยะชิโกะ" → "โยชิโกะ" +แทนที่ "นะกะยะมะ" → "นากายามะ" +แทนที่ "ซะมุไร" → "ซามูไร" ด้วยสจห.
บรรทัด 12:
| title = เจ้าซะชิ
| father = [[จักรพรรดิโคเม]]
| mother = [[โยะชิโกะโยชิโกะ นะกะยะมะนากายามะ|พระสนมโยะชิโกะโยชิโกะ]]
|empress = [[สมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็ง|ฮะฮารุโกะ อิชิโจ]] <br> อภิเษกเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1869
|mausoleum = [[สุสานหลวงฟุชิมิโมะโมะยะมะ]]
|burial = 13 กันยายน พ.ศ. 2455
บรรทัด 35:
จักรพรรดิเมจิเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1852 ในตำหนักเล็กๆนอก[[พระราชวังหลวงเกียวโต]] มีพระนามว่า '''เจ้าชายมุตสึฮิโตะ''' และเมื่อแรกประสูติทรงราชทินนามเป็น '''เจ้าซาชิ''' เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิโคเม (องค์แรกสิ้นพระชนม์ไปก่อน) ส่วนมารดาของพระองค์คือ โยชิโกะ จากตระกูลนากายามะ ตระกูลข้าราชบริพารในวังหลวงตระกูลหนึ่ง โยชิโกะเป็นนางสนมนางหนึ่งในบรรดานางสนมหลายสิบคนของจักรพรรดิโคเม
 
สี่เดือนหลังประสูติ ญี่ปุ่นได้เผชิญหน้ากับการมาถึงของ "กองเรือดำ" ในบัญชาของพลเรือจัตวา [[แมทธิว ซี. เพร์รี]] แห่งสหรัฐอเมริกา เข้ามายังอ่าวเอโดะและบังคับให้รัฐบาลโชกุน[[บะกุมะสึ|เปิดประเทศ]] การเปิดประเทศนี่เองทำให้รัฐบาลโชกุนเผชิญหน้ากับฝ่ายกบฎ(ฝ่ายหัวสมัยใหม่) ทั้งสองฝ่ายต่างก็อยากได้จักรพรรดิมาเป็นพวก แต่พระราชบิดาของพระองค์เลือกที่จะวางตัวเป็นกลางขอแค่ให้พระราชวงศ์ได้อยู่รอดปลอดภัย ชีวิตที่ลำบากยากแค้นในวัยเด็กทำให้เจ้าชายมุตสึฮิโตะเป็นเด็กขี้ขลาด ในปี ค.ศ. 1864 ที่ฝ่ายกบฎ[[แคว้นโชชู]]พยายามบุกวังหลวงจนเกิดเป็นการต่อสู้กับฝ่ายโชกุนจนเสียงปืนใหญ่ดังสนั่นทั่วทั้งวังหลวง ในขณะนั้นเจ้าชายมุตสึฮิโตะในวัย 11 ชันษาตกใจถึงกับเป็นลม การที่รัชทายาทอ่อนแอเช่นนี้ได้สร้างความวิตกต่อตระกูลนะกะยะมะนากายามะอย่างมาก ทำให้พวกเขาเริ่มตระหนักได้ว่าจำเป็นต้องฝึกฝนให้ว่าที่จักรพรรดินั้น "ร่างกายกำยำ จิตใจเหี้ยมหาญ" พวกเขาจึงให้ [[ไซโง ทากาโมริ]] ซะมุไรซามูไรเลื่องชื่อหัวสมัยใหม่มารับหน้าที่พระอาจารย์อบรมสั่งสอนเจ้าชายมุตสึฮิโตะ
 
หลังไซโงกลายมาเป็นพระอาจารย์ ไซโงได้เปลี่ยนสนามของวังหลวงเป็นลานประลอง เขาอบรมสั่งสอนเจ้าชายมุตสึฮิโตะในแบบของนักรบ ทั้งวิชาฟันดาบ, ยิงธนู, ขี่ม้า, มวยปล้ำ เจ้าชายองค์น้อยผู้บอบบางได้เติบใหญ่เป็นนักรบจากการอบรมของไซโง
บรรทัด 134:
วันที่ [[15 กันยายน]] ได้อัญเชิญพระบรมศพจากกรุงโตเกียว ไปสู่[[นครเกียวโต]]โดยทาง[[รถไฟ]]เพื่อประกอบพิธีฝังพระบรมศพไว้ที่[[สุสานหลวงโมะโมะยะมะ]] เขตฟุจิมิ เหตุการณ์เดียวที่ทำให้ช่วงเวลาที่คนทั้งชาติกำลังโศกเศร้าและไว้ทุกข์ต้องสะดุดไปคือข่าว นายพลโนงิ หนึ่งในวีรบุรุษจาก[[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]] พร้อมด้วยภริยา กระทำพิธี[[อัตวินิบาตกรรม]]ภายในบ้านพักของตัวเองเมื่อวันที่ 13 กันยายน
 
สำหรับ[[ชาวญี่ปุ่น]]หลายคน การตายของนายพลโนงิ กระตุ้นให้พวกเขาหวนรำลึกถึงประเพณีปฏิบัติของ[[ซะมุไรซามูไร]]ในยุคกลางที่จะตามเจ้านายของตนไป[[ยมโลก]]ด้วยความจงรักภักดี แต่สำหรับคนอื่นๆการตายของโมงิกลับเป็นเรื่องหลงยุคหลงสมัย และขัดกับเจตนารมณ์ที่ต้องการพาญี่ปุ่นเข้าสู่การเป็นสมัยใหม่ที่จักรพรรดิเมจิทรงเป็นสัญลักษณ์
 
ในฐานะที่ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกที่ปรากฏพระองค์ต่อสาธารณชน และมีพระบรมฉายาลักษณ์ไว้ให้ชมพระบารมีแทนสมเด็จพระบรมสาทิสลักษณ์เช่นในสมัยก่อน ต้องนับว่าจักรพรรดิเมจิมีพระบุคลิกภาพที่เด็ดขาด เปี่ยมด้วยพระราชอำนาจยิ่ง โดยรวมแล้ว พระราชจริยวัตรที่งามสง่าของจักรพรรดิเมจิ ส่งให้ทรงเป็นจักรพรรดิของญี่ปุ่น[[ยุคใหม่]]เพียงพระองค์เดียวที่เรียกได้ว่าทรงพระบรมเดชานุภาพ อย่างแท้จริง