ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจตสิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
# ดับพร้อมกับจิต
# มีอารมณ์เดียวกับจิต
# อาศัยวัตถุเดียวกับจิต โดยครูสำนวน
จิตและเจตสิกที่อิงอาศัยกันนี้ ถ้าเปรียบจิตเป็นน้ำ เจตสิกเป็นสีแดง ผสมกันเป็นน้ำแดง เมื่อผสมกันแล้วไม่สามารถแยกน้ำออกจากสีแดงได้ฉันใด จิตและเจตสิกก็ไม่สามารถแยกออกจากกันเป็นอิสระได้ฉันนั้น สภาวธรรม รวม 4 ประการของเจตสิก มีดังนี้
 
บรรทัด 15:
#กิจการงานของเจตสิกคือ เกิดร่วมกับจิต
#ผลงานของเจตสิกคือ เป็นอารมณ์ของจิต
# เหตุที่ทำให้เจตสิกเกิดขึ้นได้ คือ การเกิดขึ้นของจิต
 
เจตสิกนี้แม้ว่าจะเป็นสิ่งปรุงแต่งจิต ให้จิตมีพฤติกรรมเป็นไปตามลักษณะของเจตสิกก็ตาม แต่ก็ต้องถือว่าจิตเป็นใหญ่ เป็นประธาน เพราะเจตสิกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยจิตเกิด ไม่ว่าจะเป็นความพอใจ ความไม่พอใจ ความรัก ความเกลียด ความสงบ หรือฟุ้งซ่าน ล้วนเป็นคุณสมบัติของเจตสิกทั้งสิ้น แต่เจตสิกเกิดขึ้นเอง และแสดงพฤติกรรมเองไม่ได้ ต้องอาศัยจิตเป็นตัวแสดงพฤติกรรมแทน
บรรทัด 26:
 
เจตสิกจัดเป็นเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งของ[[พระอภิธรรมปิฎก]]ซึ่งมี 4 เรื่องคือ [[จิต (ศาสนาพุทธ)|จิต]][[ เจตสิก]] [[รูป]] [[นิพพาน]] และจัดเป็นเรื่องสำคัญของ[[พระพุทธศาสนา]]อย่างหนึ่งด้วย
 
 
== เจตสิก๕๒ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เจตสิก"