ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรู้หนังสือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{{{แก้ไข"
ป้ายระบุ: ถูกแทน แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{{{แก้ไข
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Literacy rate world.PNG|thumb]]
'''การรู้หนังสือ''' ({{lang-en|literacy}}) คือ ความสามารถที่เข้าใจ[[ภาษา]]ในระดับที่เหมาะกับ[[การติดต่อสื่อสาร]] และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับ[[สังคม]]ต่างๆ
 
มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์
หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของ[[ดิจิทัล]] ซึ่งจะเห็นได้ว่า
ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ
 
สถาบันการศึกษาของ[[แคว้นอังกฤษ|อังกฤษ]] มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ
อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่
การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับ[[วัฒนธรรม]] การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของ[[มโนคติวิทยา]]
 
ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย
{{โครงภาษา}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษา]]
[[หมวดหมู่:ความรู้]]
[[หมวดหมู่:สังคม]]
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ประยุกต์]]
[[หมวดหมู่:สังคมเศรษฐศาสตร์]]