ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถิติศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{{{แก้ไข"
ป้ายระบุ: ถูกแทน แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{{{แก้ไข
{{ความหมายอื่น|สำหรับ=หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสำหรับเปรียบเทียบ หรือใช้อ้างอิง|ดูที่=ค่าสถิติ}}
 
'''สถิติศาสตร์''' ({{lang-en|Statistic Science }}) เป็นการศึกษาการเก็บ [[การวิเคราะห์]] การตีความ การนำเสนอและการจัดระเบียบ[[ข้อมูล]] ในการประยุกต์สถิติศาสตร์กับปัญหาทางวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรมหรือสังคม ฯลฯ จำเป็นต้องเริ่มด้วย[[ประชากร]]หรือกระบวนการที่จะศึกษา ประชากรเป็นได้หลากหลาย เช่น "ทุกคนที่อาศัยอยู่ในประเทศหนึ่ง" หรือ "ทุกอะตอมซึ่งประกอบเป็นผลึก" สถิติศาสตร์ว่าด้วยทุกแง่มุมของข้อมูลซึ่งรวมการวางแผนการเก็บข้อมูลในแง่การออกแบบการสำรวจและการทดลอง
 
ในกรณีไม่สามารถเก็บข้อมูล[[สำมะโน]]ได้ นักสถิติศาสตร์เก็บข้อมูลโดยการพัฒนาการออกแบบการทดลองจำเพาะและ[[ตัวอย่าง (สถิติศาสตร์)|ตัวอย่าง]]สำรวจ การชักตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนประกันว่าการอนุมานและการสรุปสามารถขยายจากตัวอย่างไปยังประชากรโดยรวมได้โดยปลอดภัย การศึกษาทดลองเกี่ยวข้องกับการวัดระบบที่กำลังศึกษา จัดดำเนินการระบบ แล้ววัดเพิ่มโดยใช้วิธีดำเนินการเดียวกันเพื่อตัดสินว่าการจัดดำเนินการดัดแปรค่าของการวัดหรือไม่ ในทางกลับกัน การศึกษาสังเกตไม่เกี่ยวข้องกับการจัดดำเนินการทดลอง
 
มีการใช้ระเบียบวิธีสถิติศาสตร์สองอย่างหลักในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ [[สถิติศาสตร์พรรณนา]] ซึ่งสรุปข้อมูลจากตัวอย่างโดยใช้ดัชนีอย่าง[[ค่าเฉลี่ย]]หรือ[[ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน]] และ[[สถิติศาสตร์อนุมาน]] ซึ่งดึงข้อสรุปจากข้อมูลซึ่งมีการกระจายสุ่ม (เช่น ข้อผิดพลาดสังเกต การกระจายการชักตัวอย่าง) สถิติศาสตร์พรรณนาส่วนใหญ่ว่าด้วยชุดคุณสมบัติของการกระจายสองชุด ได้แก่ [[แนวโน้มสู่ส่วนกลาง]]ซึ่งมุ่งให้ลักษระค่ากลางหรือตรงแบบของการกระจาย ขณะที่[[การกระจาย]]ให้ลักษณะขอบเขตซึ่งสมาชิกของการกระจายอยู่ห่างจากส่วนกลางและสมาชิกอื่น การอนุมานสถิติศาสตร์คณิตศาสตร์กระทำภายใต้กรอบ[[ทฤษฎีความน่าจะเป็น]] ซึ่งว่าด้วยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์สุ่ม ในการอนุมานปริมาณไม่ทราบค่า มีการประเมินค่า[[ตัวประมาณค่า]]ตั้งแต่หนึ่งตัวโดยใช้ตัวอย่าง
 
สถิติศาสตร์แบ่งเนื้อหาออกเป็น
1.สถิติ (Statistics)
 
2.เซตและการให้เหตุผล (Set and reasoning)
 
3.[[คณิตตรรกศาสตร์|ตรรกศาสตร์]] (logical)
 
4.[[ความน่าจะเป็น]] (Probability)
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Statistics|{{PAGENAME}}}}
 
[[หมวดหมู่:วิธีการวิจัย]]
[[หมวดหมู่:สถิติศาสตร์| ]]
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์รูปนัย]]
[[หมวดหมู่:ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สารสนเทศ]]
 
{{โครงคณิตศาสตร์}}