ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาบู่มหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: เพิ่มอ้างอิง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
 
== ประวัติ ==
ในราวปี พ.ศ. 2469 ซึ่งเป็นช่วงรัชสมัย "[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]" (รัชกาลที่ 6) ได้มีการจัดตั้งกรมรักษาสัตว์น้ำขึ้นใน[[กระทรวงเกษตราธิการ]] โดยมี[[ชาวอเมริกัน]] ชื่อ ดร. [[ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ]] (Dr. Hugh McCormick Smith)<ref>http://www.vcharkarn.com/varticle/59035</ref> เข้ามาปฏิบัติงานด้านการเพาะเลี้ยง และการ[[อนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำในประเทศไทย]] ในตำแหน่ง[[เจ้ากรมรักษาสัตว์น้ำ]]คนแรก
 
ผลงานในหน้าที่รับผิดชอบของฮิว แมคคอร์มิค สมิธ ที่เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์น้ำของไทย โดยเฉพาะพันธุ์ปลา มีรวมกว่า 60 เรื่อง อีกทั้งยังได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์สำหรับปลาที่ค้นพบใหม่รวม 67 [[species|ชนิด]] เป็นสกุลใหม่รวม 21 [[genus|สกุล]]ใหม่รวม 21 สกุลในจำนวนนี้ได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ปลาบู่ โดยให้ชื่อสกุลว่า "''Mahidolia''" เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ "[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]]" ซึ่งขณะนั้นทรงดำรงพระยศเป็น "[[สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์]]" ในการที่พระองค์ทรงสนพระทัย ทรงใคร่ติดตาม และเปี่ยมด้วยพระมหากรุณาธิคุณต่อการประมงของประเทศไทย พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สำหรับคนไทย เพื่อที่จะได้มาทำงานด้านการประมงต่อจาก ดร.[[ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ]] โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยง และการอนุรักษ์พันธุ์ปลา
 
และจนถึงปัจจุบัน ปลาบู่มหิดลนับเป็น[[สิ่งมีชีวิต]]เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล ''Mahidolia''<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt ITIS]</ref>
 
== เนื้อหา ==