ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาถิ่นพิเทน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Art Choco Love (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สำเนียงพิเทน''' เป็น[[ภาษาไทย]]ถิ่นย่อยถิ่นหนึ่ง ที่ใช้จำเพาะอยู่ในชาวไทยมุสลิมใน[[ตำบลพิเทน]] [[อำเภอทุ่งยางแดง]] [[จังหวัดปัตตานี]] มีลักษณะพิเศษคือเป็นภาษาไทยภาคกลางปน[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ถิ่นใต้]] มีการใช้[[ราชาศัพท์ (ภาษาไทย)|คำราชาศัพท์]]ร่วมด้วย และยืม[[ภาษามลายูปัตตานี|คำมลายู]]เสียมาก ปัจจุบันสำเนียงพิเทนกำลังสูญไปและแทนที่ด้วยภาษามลายูปัตตานี และภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตะวันออก
 
== ประวัติ ==
ผู้ใช้สำเนียงพิเทนเชื่อว่าตนมีบรรพบุรุษอพยพมาจาก[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref name= "พิเทน">{{cite web |url= http://www.piten.go.th/html/menu-2.asp?action=2&id=78 |title= ประวัติความเป็นมา |author=|date=|work= องค์การบริหารส่วนตำบลพิเทน |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref><ref name= "ประพนธ์">ประพนธ์ เรืองณรงค์. ''บุหงาปัตตานี คติชนมุสลิมชายแดนภาคใต้''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์, 2554, หน้า 203-207</ref><ref name= "ไทยรัฐ">{{cite web |url= https://www.thairath.co.th/content/11158 |title= ตำนานบ้านพิเทน |author= บาราย |date= 7 มิถุนายน 2552 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> ตามมุขปาฐะนั้นว่าบรรพบุรุษได้เดินทางลงมาทางใต้เพื่อตามหาช้างสำคัญของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ซึ่งผู้นำในการติดตามช้างสำคัญนั่นคือพี่เณร (หรือโต๊ะหยัง) แต่การติดตามช้างสำคัญนั้นไม่สำเร็จ ด้วยเกรงกลัวพระราชอาญาจึงหลบลี้ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในป่า อันเป็นที่มาของชื่อ[[ตำบลพิเทน]]ซึ่งเพี้ยนมาจากชื่อของพี่เณรนั้นเอง<ref name= "พิเทน"/><ref name= "ไทยรัฐ"/><ref>{{cite web |url= http://www.thaitambon.com/tambon/940602 |title= ข้อมูลตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง ปัตตานี |author=|date=|work= ไทยตำบลดอตคอม |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> ลูกหลานที่สืบสันดานลงมาก็แต่งงานกับคนท้องถิ่นและเข้ารับอิสลาม<ref name= "ประพนธ์"/> ส่วนสุสานพี่เณรตั้งอยู่ที่บ้านควน หมู่ 2 ตำบลพิเทนในปัจจุบัน<ref name= "พิเทน1"/>
 
สำเนียงพิเทนเป็นภาษาถิ่นที่ใช้เฉพาะตำบลพิเทนเท่านั้น<ref name= "พิเทน1"/><ref>{{cite web |url= http://hhdpiten.blogspot.com/p/blog-page.html |title= ข้อมูลทั่วไปตำบลพิเทน |author=|date= |work= โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทน |publisher=|accessdate= 27 เมษายน 2561 }}</ref> เฉพาะในกลุ่มชาวไทยมุสลิม<ref>{{cite web |url= https://prachatai.com/journal/2015/04/58680 |title= โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้: ย้อนอดีตบ้านโต๊ะชูด ย้อนรอยโมเดลทุ่งยางแดง |author=|date= 1 เมษายน 2558 |work= ประชาไท |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ปัจจุบันนี้สำเนียงพิเทนดังกล่าวใกล้สูญหายและไม่เป็นที่นิยมใช้ เพราะชนนิยมใช้ภาษามลายูปัตตานี และภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตะวันออกมากกว่า<ref name= "พิเทน"/>
 
== ลักษณะ ==