ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาโนเทคโนโลยี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ตัวอย่างผลงานจากนาโนเทคโนโลยี: เพิ่มหัวข้อเรื่อง งานด้านนาโนเทคโนโลยี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nithima kku (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Fullerene_Nanogears_-_GPN-2000-001535.jpg|thumb|300px|เฟืองขนาดนาโน]]
 
'''นาโนเทคโนโลยี''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Nanotechnology) คือ [[เทคโนโลยี]]ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการ การสร้างหรือการวิเคราะห์ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักรหรือผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ในระดับ[[นาโนเมตร]] (ประมาณ 1-100 นาโนเมตร) รวมถึงการออกแบบหรือการประดิษฐ์เครื่องมือ เพื่อใช้สร้างหรือวิเคราะห์วัสดุในระดับที่เล็กมากๆมาก ๆ เช่น การจัดอะตอมและโมเลกุลในตำแหน่งที่ต้องการได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ส่งผลให้โครงสร้างของวัสดุ หรืออุปกรณ์ มีคุณสมบัติสมบัติพิเศษขึ้นไม่ว่าทางด้านฟิสิกส์กายภาพ เคมี หรือชีวภาพ และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
 
'''นาโนศาสตร์''' (Nanoscience) คือ วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา วัสดุ อินทรีย์ อนินทรีย์ และรวมไปถึงสารชีวโมเลกุล ที่มีโครงสร้างในสามมิติ (ยาว x กว้าง x สูง) ด้านใดด้านหนึ่งมีความยาวอยู่ระหว่าง 1-100 นาโนเมตร โดยวัสดุชนิดใดก็ตาม ถ้าที่มีมิติทั้งสามเล็กกว่า 100 นาโนเมตร วัสดุชนิดนั้นก็จะถูก เรียกว่า สาม-ดี วัสดุนาโนสามมิติ (3-D nanomaterial) ถ้ามีแค่ สองมิติ หรือ หนึ่งมิติ ที่เล็กกว่า 100 นาโนเมตร ก็จะถูกเรียกว่าวัสดุ นาโนสอง-ดีมิติ (2-D) และ วัสดุนาโนหนึ่ง-ดีมิติ (1-D) ตามลำดับ คุณสมบัติสมบัติของวัสดุนาโนจะแตกต่างจากวัสดุที่มีขนาดใหญ่ (bulk materialsmaterial) ไม่ว่าจะเป็นคุณสมบัติ สมบัติทางฟิสิกส์กายภาพ เคมี และชีวภาพ ล้วนแล้วแต่มีคุณสมบัติสมบัติเฉพาะตัว ดังนั้น ถ้าพูดกล่าวถึง นาโนศาสตร์ ก็จะเป็นการสร้างหรือศึกษาวัสดุที่มีโครงสร้างในระดับนาโนเมตร โดยผลลัพธ์ที่ได้ก็คือ จะได้วัสดุชนิดใหม่ หรือรู้คุณทราบสมบัติที่แตกต่าง และน่าสนใจ โดยคุณสมบัติสมบัติเหล่านั้นจะถูกสามารถอธิบายได้ด้วยทฤษีทางควอนตัม (quantum theory)
 
==ประวัติ==
ริชาร์ด ไฟน์แมน (Richard Phillips Feynman) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับว่า เป็นคนแรกที่แสดงความเห็นถึงความเป็นไปได้ และแนวโน้มของนาโนเทคโนโลยี ในการบรรยายเรื่อง “There’s plenty of room at the bottom” ที่[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] เมื่อปี ค.ศ. 1959 ([[พ.ศ. 2502]]) โดยการแสดงความเห็นถึงความเป็นไปได้ และโอกาสของประโยชน์ที่จะได้จากการจัดการในระดับ[[อะตอม]]
 
ปี ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) ศาสตราจารย์ [[โนริโอะ ทานิกูชิ|โนริโอะ ทะนิงุชิ]] (Norio Taniguchi) แห่ง[[มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์โตเกียว]]เป็นคนแรกที่เริ่มใช้คำว่า “Nanotechnology” <ref> N. Taniguchi, "On the Basic Concept of 'Nano-Technology'," Proc. Intl. Conf. Prod. Eng. Tokyo, Part II, Japan Society of Precision Engineering, 1974 </ref>
 
== ประโยชน์ของนาโนเทคโนโลยี ==
ความหวังที่จะฝ่าวิกฤติปัจจุบันของมนุษยชาติจากนาโนเทคโนโลยีมีดังนี้
 
# พบทางออกที่จะได้ใช้พลังงานราคาถูกและสะอาดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
# มีน้ำที่สะอาดเพียงพอสำหรับทุกคนในโลก
# ทำให้มนุษย์สุขภาพแข็งแรงและอายุยืนกว่าเดิม (มนุษย์อาจมีอายุเฉลี่ยถึง 200 ปี)
# สามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้อย่างพอเพียงกับประชากรโลก
เส้น 27 ⟶ 28:
[[ไฟล์:Kohlenstoffnanoroehre Animation.gif|thumb|คาร์บอนนาโนทูบ ในโครงสร้างสามมิติ]]
 
# [[นาโนอิเล็กทรอนิกส์]] (NanoelectronicsNanoelectronicห)
# [[นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ]] (Bionanotechnology)
# [[นาโนเซนเซอร์]] (Nanosensor)