ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐศาสตร์จุลภาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎สมมติฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์: การใช้คำที่ผิดเพี้ยน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เศรษฐศาสตร์หน่วยเล็ก
บรรทัด 1:
มันง่ายนะ5555{{เศรษฐศาสตร์}}
 
[[ไฟล์:Supply-and-demand.svg|thumb|โมเดล[[อุปสงค์และอุปทาน]]อธิบายการเปลี่ยนแปลงของราคาซึ่งเป็นผลจากสมดุลระหว่างปริมาณสินค้าซึ่งถูกเสนอขายที่ราคาแต่ละราคา (อุปสงค์) และความต้องการซื้อที่ราคาแต่ละราคา (อุปทาน)]]
'''เศรษฐศาสตร์จุลภาค''' ({{lang-en|'''Microeconomics'''}}) เป็น[[เศรษฐศาสตร์]]สาขาหนึ่งซึ่งศึกษาพฤติกรรมและการตัดสินใจของบุคคล ครัวเรือน และบริษัท หรือเศรษฐศาสตร์หน่วยเล็กในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด<ref> {{cite web|url=http://www.ca.uky.edu/agc/pubs/aec/aec75/aec75.htm |title=Macroeconomic and International Policy Terms |accessdate=2007-05-04 |last=Marchant |first=Mary A. |coauthors= Snell, William M. |publisher=University of Kentucky}}</ref> โดยเฉพาะในตลาดซึ่งมีการซื้อขายสินค้าและบริการ เศรษฐศาสตร์จุลภาคศึกษาว่าพฤติกรรมและการตัดสินใจเหล่านี้มีผลกระทบอย่างไรต่อ[[อุปสงค์และอุปทาน]]ของสินค้าและบริการ ซึ่งเป็นตัวกำหนดราคา และในทางกลับกัน ราคากำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าและบริการอย่างไร<ref name="glossary">{{cite web|title=Economics Glossary|publisher=Monroe County Women's Disability Network|url=http://www.mcwdn.org/ECONOMICS/EcoGlossary.html|accessdate=2008-02-22}}</ref><ref>{{cite web|title=Social Studies Standards Glossary|url=http://web.archive.org/web/20070808200604/http://nmlites.org/standards/socialstudies/glossary.html|accessdate=2008-02-22|publisher=New Mexico Public Education Department}}</ref>
 
จุดประสงค์หนึ่งของเศรษฐศาสตร์จุลภาคคือการวิเคราะห์กลไก[[ตลาด]]ซึ่งเป็นตัวกำหนด[[ราคา|ราคาเปรียบเทียบ]]ระหว่างสินค้าและบริการ และการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อใช้ในทางเลือกต่าง ๆ เศรษฐศาสตร์จุลภาคศึกษาเกี่ยวกับ[[ความล้มเหลวของตลาด]] ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่กลไกตลาดไม่สามารถทำให้เกิดผลที่มีประสิทธิภาพได้ และยังอธิบายเกี่ยวกับข้อแม้ทางทฤษฎีที่จำเป็นต่อการเกิด[[การแข่งขันสมบูรณ์]] สาขาที่สำคัญในเศรษฐศาสตร์จุลภาค เช่น[[ดุลยภาพทั่วไป]] ตลาดภายใต้[[ความไม่สมมาตรของข้อมูล]] การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน และการประยุกต์ใช้[[ทฤษฎีเกม]]ในทางเศรษฐศาสตร์